ฉมฺภิตตฺต : (นปุ.) ความหวาดหวั่น, ความสะดุ้ง, ความหวาดเสียว, ความครั่นคร้าม. ฉภิ อุตฺราเส, โต, ลงนิคคหิตและอิอาคม ได้ รูปเป็น ฉมฺภิต แล้วลง ตฺต ปัจ. ภาวตัท. สะกัด.
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
สรท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครั่นคร้าม. สุรปุพฺโพ, ทา เฉทเน, อ. แปลง อุ เป็น อ.
สารชฺช : (นปุ.) ความครันคร้าม, ความไม่แกล้วกล้า. สารท+ณฺย ปัจ. สกัด วิ. สารทสฺส ภาโย สารชฺชํ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
สารท : (วิ.) ไม่แกล้วกล้า, ไม่กล้าหาญ, ไม่องอาจ, ไม่ว่องไว, ครันคร้าม, ไม่มีฝีมือ. ดู สรท ประกอบ.
อจฺฉมฺภี : (วิ.) ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่มีความครั่นคร้าม, ไม่สะดุ้ง, ฯลฯ. น+ฉมฺภีซ้อน จ.
กณฺห : (วิ.) ชั่ว, ดำ, มืด, กฤษณะ (ดำ), เขียวคราม.
กาฬ : (ปุ.) ดำ (สี...), เขียวคราม (สี...), สีดำ, สีเขียวคราม. วิ. วณฺเณสุ เอกโกฏฺฐ าสภา เวน กลฺยเตติ กาโล. โส เอว กาโฬ. กลฺ สํขฺยาเณ, อโล. กาติ ผรุสํ วทตีติ วา กาโฬ. กา สทฺเท, โฬ.
นีลมณิ : ป. แก้วสีคราม
นีลินี, (นีลิ) : อิต. สีคราม
พินฺทุกปฺป : (ปุ.) การทำพินทุ คือ การเขียนจุด ทำจุดที่มุมผ้าเหนืออนุวาตด้วยสีเขียวคราม หรือสีโคลน หรือสีดำคลำ เพื่อทำให้เสียสีตามพระวินัยบัญญัติ.
เมจก : (วิ.) ดำ, เขียว, เขียวคราม.
สาม : (วิ.) ดำ, ดำคล้ำ, เขียว, เขียวคราม, เหลือง.
สามล : (วิ.) ดำ, ดำคล้ำ, เขียว, เขียวคราม, เหลือง.
อสิต : (วิ.) ดำ, คล้ำ, เขียวคราม, ไม่ขาว.วิ.นสิโตอสิโต.กิน, กลืนกิน.อสฺ ภกฺขเณ, โต, อิ อาคโม.ส.อสิต.
อุปนีล : ค. น้ำเงินแก่, เขียวคราม, ดำ