กปฺป : (วิ.) หย่อนหน่อยหนึ่ง, เกือบเท่า, รอบด้าน, ควร, สมควร, คล้าย, เช่น, เหมือน. กปฺปฺ ปริจฺเฉทเน, อ.
กิ : (วิ.) เช่นกับ, เช่นกัน, คล้าย, เสมอ, เหมือน. กิ เวลมฺเพ, อ.
ตุล : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, คล้าย, เช่นกัน. ตุลฺ อุมฺมาเณ ตีรณายํ วา, อ.
ตุลฺย : (วิ.) เสมอ, เสมอกัน, เท่ากัน, เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, วิ. ตุลาย สมฺมิโต ตุโลฺย. ตุลาย ตุลนาย สมฺมิโต สมํ มิเณตพฺโพ ตุโลฺย. อภิฯ.
นิภ : (วิ.) ละม้าย, แม้น, คล้าย, เช่นกัน. นิปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, อ. ส. นิภ.
สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
อนุรูป : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งรูป, คล้าย, สม, สมควร, เหมาะ, พอเพียง.ส.อนุรูป.
กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
กฏจฺฉุปริสฺสาวน : (นปุ.) ผ้าสำหรับกรองน้ำ มีรูปคล้ายช้อน.
กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
กณฺฏกีผล : (ปุ.) ต้นไม้มีผลประกอบด้วย หนาม, ต้นไม้มีผลมีผิวคล้ายหนาม, ขนุน, ต้นขนุน. วิ. กณฺฏกยุตฺตํ ผลํ อสฺส อตถิติ กณฺฏกีผโล. อีอาคม.
กณฺณชลุกา กณฺณชลูกา : (อิต.) กิ้งกือ, ตะขาบ, ตะเข็บ ชื่อสัตว์เลื้อยคลานชนิด หนึ่งมีตีนมากคล้ายตะขาบแต่ตัวเล็กกว่า.
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กปิตน กปีตน : (ปุ.) มะสัง ชื่อต้นไม้ ต้นมี หนาม ใบคล้ายใบมะขวิด.
กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
กลิงฺคุ : ป., นป. ต้นไม้อินเดียชนิดหนึ่งคล้ายต้นพุด
กเสรุ : (ปุ.) กระจับ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ขึ้น ลอยอยู่ในน้ำ มีฝักเป็นสองเขาคล้ายศรีษะ ควาย เมื่อแก่มีสีดำ ตกอยู่ที่พื้นดิน เนื้อ ข้างในขาว มีรสมัน, วิ. เก สยตีติ กเสรุ. กปุพฺโพ, สี สเย, รุ.
กาโกปมา : อิต. เปรียบเหมือนกา, คล้ายกา, มีกาเป็นตัวอย่าง
กาทมฺพ : (ปุ.) นกกาน้ำ ตัวดำคล้ายนกกาแต่ คอยาวกว่า หากินในน้ำ, นกทิ้งทูดเท้งทูด ก็เรียก เป็นจำพวกนกทืดทือ, นกเค้าโมง เป็นนกหากินกลางคืน, นกกะลิง ปากดำตัว เขียว คล้ายนกแก้ว. กทมฺพโยคา กาทมฺโพ.
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
กิปุริส กิมฺปุริส :
(ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
กึกิณิกา : (อิต.) กระดิ่ง ชื่อเครื่องทำเสียง สัญญาณ รูปคล้ายระฆัง, กระดึง ชื่อ เครื่องโลหะหรือเครื่องไม้ รูปคล้ายกระดิ่ง ใช้แขวนคอวัวควาย เพื่อให้เกิดเสียงผู้เลี้ยง จะได้รู้ว่าอยู่ที่ไหน.
กุฏนินฺน : (นปุ.) เนระพูสี ชื่อต้นไม้ใช้ทำยา ต้นเป็นกอคล้ายผักกูด ก้านสีแดงคล้ำ.
กุฐารี กุฏฺฐ ารี : (อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับ ถากไม้ชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายขวาน วิ. กุจฺฉิตา ธารา ยสฺสาติ กุฐารี กุฏฺฐารี. แปลง ธ เป็น ฐ. ฏฺฐ. เป็น กุธารี โดยไม่แปลงบ้าง ขวาน ก็แปล.
กุณฺฑ : (ปุ.) เหี้ย, จะกวด (สัตว์เลื้อยคลานรูป ร่างคล้ายจิ้งจก ตะกวด ก็เรียก), ไฟ, เตาไฟ, หลุมไฟ. กุณฺฑ ฑาเห, อ.
ขณฺฑสกรา : (อิต.) ขัณฑสกร ชื่อเครื่องยาชนิด หนึ่งคล้ายน้ำตาลกรวด. น้ำตาลกรวด ก็แปล.
ขายติ : ก. ปรากฏว่า, คล้ายกับว่า, ประหนึ่งว่า; กล่าวว่า, เรียกว่า
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
ควิ : ป. เครือเถาคล้ายต้นไม้ยืนต้น, ในคำว่า ควิปฺผล = ผลควิ
โคกณฺฏก : (ปุ.) โคกกระสุน ชื่อไม้เลื้อย ลูก เป็นหนาม ใช้ทำยา, กระจับ ชื่อพรรณไม้ ใบสีเขียว อาศัยใบและก้านเป็นทุ่นลอย อยู่ในน้ำ มีฝักคล้ายเขาควาย เมื่อแก่มีสีดำ เนื้อในสีขาว เป็นอาหารมีรสมัน วิ. ควํ กณฏโก โคกณฺฏโก. ปฐวึ วา ลคฺคคณฺฏโก โคกณฺฏโก, เอกักขรโกสฏีกา วิ. โคสฺส สุริยสฺส กณฺฏโก โคกณฺฏโก.
โคธา : (อิต.) เหี้ย ชื่อสัตว์ชนิดหนึ่งคล้าย จะกวด แต่ใหญ่กว่า หางแบน เป็นสัตว์ ครึ่งน้ำครึ่งบก. คุธฺ โรเส, อ. ส. โคธา ว่าจะกวด.
ฆฏียนฺต : (นปุ.) ถัง, ถังมีสาย, ครุ, โพง (ชง โลง), ชงโลง, แครง ชื่อภาชนะสานสำ- หรับตักน้ำรดต้นไม้ รูปร่างคล้าย หอยแครง มีด้ามยาว. ฆฏีปุพฺโพ, ยา คติปาปุณเนสุ, อนฺโต อโต วา.
ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
จาฏิปญฺชร : ป. กรงมีรูปดุจตุ่ม, กรงที่ทำคล้ายตุ่ม
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
ตนฺตุนาค : (ปุ.) เมล็ดผักกาด, เมล็ดพันธุ์ผัก กาด, ปลีน่อง (กล้ามเนื้อที่มีลักษณะคล้าย หัวปลีอยู่ด้านหลังของหน้าแข้ง).
ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
ตุมฺพ : (ปุ.) ตุมพะ ชื่อมาตราตวง ชื่อของ เครื่องตวง ( อาฬหก), ทะนาน, คนโทน้ำ, หม้อน้ำ, จักจั่น ( เต้าน้ำ หรือภาชนะดิน รูปคล้ายน้ำเต้า ใช้ใส่น้ำเดินทาง). ตุมฺพฺ กมฺปเน, อ.
ตุลิย : (ปุ.) นกเค้าแมว ชื่อนกที่หากินกลาง คืนมีหน้าคล้ายแมว, บ่าง ชื่อสัตว์สี่เท้า ชนิดหนึ่ง ตัวคล้ายกระรอก โตเกือบเท่า ค่าง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, อิโย. เป็น ตุลฺลิย บ้าง.
ถาล : (ปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
ถาลก : (นปุ.) ขัน, จาน, ชาม, ถัง. โอ (ภาชนะสานสำหรับใส่ของ รูปร่าง คล้ายขัน ขันโอ ก็เรียก). ถลฺ ฐาเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัต.
ทพฺพี : (อิต.) ช้อน ทัพพี ทรพี (เครื่องตักข้าวตักแกงรูปร่างคล้ายช้อน แต่ใหญ่กว่า). วิ. โอทนาทีนิ อเนน ทาเรนฺตีติ ทพฺพี. ทรฺ วิทารเร, โพ, รสฺส โพ. ทุ คติยํ, วา, โพ. พฤธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว ว เป็น พ หรือแปลง อุ เป็น อ ซ้อน พฺ เป็น ทพฺพิ ก็มี. ส. ทรฺพิ.
ทีฆเพก ทีฆวณฺฏ ทีฆวณฺฑ : (ปุ.) เพกา ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ฝักแบนคล้ายถั่วฝัก พร้า. วิ. ทีฆํ ผลวณฺฏํ ยสฺส โส ทีฆวณฺโฎ.
ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
เทวทารุ : (ปุ.) เทพทารู เทพทาโร ชื่อพรรณ ไม้ชนิดหนึ่ง มีกลิ่นหอมคล้ายการบูร เปลือกหอมใช้ปรุงอาหารรากใช้ทำยาไทย วิ. เทวานํ ตรุภูตตฺตา เทวทารุ.
นิกาส : ๑. ป. เพื่อนบ้าน, ที่ใกล้เคียง,
๒. ค. ในคำว่า “สนฺนิกาส = คล้าย, เหมือน, ใกล้เข้าไป”