พาหาปรมฺปรา : อิต. การคล้องแขนด้วยแขน, การควงแขนกัน
เมขล : (นปุ.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
เมขลา : (อิต.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
วฏสก : ป. พวงมาลัยคล้องคอ
อส : (ปุ.) บ่า, ไหล่, ส่วน, แผนก, คอต่อ, มุม, องสา, องศา, ขันธ์, วิ.อนติอมติวาเอเตนาติ อํโส. อนฺ ปาณเน, อมํ คมเน วา, โส, นสฺสมสฺสวานิคฺคหีตํ(แปลง นฺ หรือ มฺ เป็น นิคคหิต). อํสฺ สงฺฆาเต วา, อ.อังสะ ชื่อของผ้าที่ภิกษุสามเณรใช้คล้องเฉวียงบ่าจากบ่าซ้ายมาใต้แขนขวาก็มีรากศัพท์มาจากคำนี้สฺอํศอํส.
อาลคฺเคติ : ก. คล้องไว้, แขวนไว้, ติดไว้; ให้แขวนไว้, ให้ติดไว้
อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
ขาตุตหุ : นป. คู, คลอง
นิทฺธมน : นป., นิทฺธมนา อิต. การขจัดออก, การระบายออก, การทดน้ำ; คลอง, เหมือง
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
นกฺขตฺตปถ : (ปุ.) ทางแห่งนักษัตร, คลอง แห่งนักษัตร, อากาศ.
อิริยาปถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไปแห่ง อวัยวะ อันบุคคลพึงให้หวั่นไหว, คลอง แห่งกิริยาอันบุคคลให้เป็นไป, ทางแห่ง ความเคลื่อนไหว, อาการเคลื่อนไหว, อิริยาบถ (การเคลื่อนไหว ยืน เดิน นั่ง นอน).
มาตี : (อิต.) ทางน้ำ, ฯลฯ, คลอง.
อาปาถ : (ปุ.) คลองเป็นที่มาเป็นไป, คลอง.
กมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรม, ทางเกิดของ กรรม, คลองแห่งกรรม, กรรมอันเป็น คลอง, กรรมบถ ชื่อธรรมหมวดหนึ่งมี ๑๐ ข้อ มีทั้งฝ่ายกุศลและอกุศล.
กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
กุสลกมฺมปถ : (ปุ.) ทางแห่งกรรมอันเป็นกุศล, กรรมอันเป็นคลองอันเป็นกุศล, ทางแห่ง การสร้างความดี, กุศลกรรมบถ ชื่อ ธรรม สำหรับสร้างความดี มี ๑o อย่าง คือ กาย สจริต ๓ วจีสุจริต ๔ และมโนสุจริต ๓.
จกฺขุปถ : ป. คลองแห่งจักษุ, วิถีแห่งจักษุ, ทัศนวิสัย
จินฺตนาการ : (ปุ.) คลองแห่งความคิด, อาการ คือความคิด, การสร้างภาพขึ้นในใจ วิ. จินฺตนายํ ภาวํ อุกาโร ( การทำขึ้น การ สร้างขึ้น ) จินฺตนากาโร.
ญาณปถ : ป. คลองแห่งญาณ, แนวทางแห่งความรู้
ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
ยนฺต : (วิ.) คล่อง, เร็ว, สะดวก,ง่าย.
สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
สีฆ : (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ไว, ฉับไว, ว่องไว, ด่วน, เชี่ยว. วิ. เสติ ลหุ ํ หุตฺวา ปวตฺตตีติ สีฆํ. สิ คติยํ, โฆ, ทีโฆ. จ.
สีฆตุถ : (วิ.) คล่อง, ฯลฯ, เชี่ยว, ฉลาด, ขยัน.
สุรปถ : (ปุ.) คลองแห่งพระอาทิตย์, อากาศ, กลางหาว. วิ. สุรานํ ปโถ สุรปโถ.
อนิลปถ : (ปุ.) คลองแห่งลม, กลางหาว, ฟ้า, ท้องฟ้า, อากาศ.
อาทิจฺจปถ : (ปุ.) ทางแห่งพระอาทิตย์, คลองแห่งพระอาทิตย์, กลางหาว, อากาศ.
อาปาถก : ค. มีคลอง, มีทาง, เป็นทางที่บุคคลพึงเห็นได้
อาสุ : (วิ.) คล่อง, พลัน, ฉับพลัน, เร็ว, ด่วน. วิ. อสติ สีฆภาเวน ปวตฺตตีติ อาสุ. อสฺ คติยํ, ณุ. ส. อาศุ.
อุจิต : ค. เหมาะสม, สะดวก, คล่อง