ปริยาทาติ : ก. เหนื่อยอ่อน, หมดแรง, ถือเอา, ควบคุม
ยต : กิต. บังคับ, ควบคุม, งดเว้น, สำรวมแล้ว
อนุสญฺญายติ : ก. ๑.ไปหา , ไปเยี่ยม ;
๒. ตรวจตรา, ควบคุม
ปฏิสยมติ : ก. สำรวม, ระวัง, ควบคุม (ตนเอง) , เหนี่ยวรั้งจิตใจ
กมฺมาธิฏฐายี : ค. ผู้ควบคุมงาน, ผู้อำนวยการงาน
กายคตาสติ : (อิต.) สติอันไปแล้วในกาย, สติอันไปในกาย, กายคตาสติ คือการใช้ สติควบคุมจิตพิจารณาร่างกาย เช่น ผม ขน เล็บ เป็นต้น ให้เห็นว่าไม่งาม.
กายสวร : ป. การสำรวมกาย, การควบคุมกาย
ฐิตจิตฺต : ค. ผู้มีจิตตั้งมั่นแล้ว, ผู้ควบคุมจิตได้
ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น,
๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
นวกมฺมาธิฏฺฐายี : ค. ผู้ควบคุมการก่อสร้าง
นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
นวกมฺมิกภิกขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้ควบคุมการก่อสร้าง, ภิกษุผู้ควบคุมงานก่อสร้าง, ภิกษุผู้ทำการก่อสร้าง.
นิคฺคหณตา : อิต. การข่ม, การรั้ง, การหน่วงเหนี่ยว, การควบคุม
ปริยาทาย : กิต. เหนื่อยอ่อนแล้ว, หมดแรงแล้ว, ถือเอาแล้ว, ควบคุมแล้ว
พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
อวสี : ๑. ค. ไม่มีอำนาจ ; ไม่ชำนาญ ; ควบคุมไม่ได้ ;
๒. ก. ได้หยุดพักอยู่แล้ว