ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
ตุสน : (นปุ.) ความยินดี, ความแช่มชื่น, ความชื่นชม, ดุษฎี. ตุสฺ ตุฏฺฐยํ, ยุ. ส. ตุษฺฏิ.
ปิติ : อิต. ปิติ, ความยินดี, ความชื่นชม
โมชฺช โมทน : (นปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
โมท : (ปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
อภินนฺทน : (นปุ.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
อภินนฺทนา : (อิต.) ความชื่นชม, ความยินดี, ความยินดียิ่ง, ความชอบใจ, ความชอบใจยิ่ง.ส.อภินนฺท.
อภิสนฺถว : (ปุ.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี
อภิสนฺถวนา : (อิต.) ความชื่นชมยิ่ง, ความชมเชยยิ่ง, ความยกย่องยิ่ง, ความสรรญเสริญยิ่ง, ความชื่นชม, ฯลฯความสดุดี, การสดุดี.
อาโมท : (ปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความชื่นชม, ความยินดี.อาปุพฺโพ, มุทฺหาเส, โณ.