กิลินฺน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ซึม, เยิ้ม, หม่นหมอง. กิลิทฺ อทฺทภาเว, โต, อินฺนา เทโส, ทฺโลโป.
เตมน : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, เยิ้ม. ติมุ อทฺทภาเว, ยุ. ส. เตมน.
อลฺยอลฺล : (วิ.) เปียก, ชื้น, ชุ่ม, ดิบ, สด, ใหม่อาบ, ซึม. อลฺกลิเล, อโล.รูปฯ ๖๕๙.อภิฯลงลปัจ.ศัพท์ต้นลงยปัจ.
อุนฺน : ค. เปียก, ชุ่ม, ชื้น
ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
อทฺท : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก, แฉะ, อาบ, ซึม.อทฺคติยํ, อาปุพฺโพ วา, ทา อวขณฺฑเน, โท.
กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
เตมิตุ : อ. (ปฐ., จตุ) การเปียก, การทำให้เปียก, การชุ่มชื้น; เพื่ออันเปียก, เพื่ออันชุ่ม
เตเมติ : ก. ทำให้เปียก, ทำให้ชุ่ม, ทำให้ชื้น
สลิลปฺปาย : (ปุ.) ที่มีน้ำมาก, ที่ชุ่มชื้น, ที่อันชุ่มชื้น. วิ. ปาโย พหุลํ สลิลํ เอตฺถาติ สลิลปฺปาโย พหูทกเทโส.
อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
อนูป : ค. ที่ชุ่มชื้น, ที่แฉะ
อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.
กิลิชฺชติ : ก. เปียก, ชุ่ม, (แผล)เป็นหนอง
กิลิสฺสติ : ก. เปียก, ชุ่ม, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์
ฉว : (วิ.) เลว, ชั่ว, ชั่วช้า, ลามก, ถ่อย, ร้าย, โหด, โหดร้าย, เสื่อม, เปียก, เยิ้ม, ชุ่ม, ตัด, บั่น, ทอน. ฉุ หีนตินฺตเฉทเนสุ, โณ.
ตินฺต : ค. เปียก, ชื้น, แฉะ
อทฺทายเต : ก. เปียก, ชุ่ม
อุนฺทติ : ก. ไหล, ชุ่ม, เปียก
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
สุต : (วิ.) ฟัง, สดับ, ได้ยิน, ได้ฟัง, ไหล, ไหลไป, เปียก, ชุ่ม. สุ สวเน, โต. เบียดเบียน, ผูก, จำ, สะสม, ติดต่อ, ละเอียด, ป่น. สุ อภิสเว. ขวนขวาย, แสวงหา, ปรากฏ, มีชื่อเสียง. สุ คติวุทีสุ.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กจฺฉา : (อิต.) เชือกสำหรับผูกท่ามกลางตัวช้าง, สายรัดกลางตัวช้าง, สายรัดท้องช้าง, ปลายแขน, ข้อมือ, ชายกระเบน, หางกระ เบน, สายรัดเอว, รักแร้, หญ้า, เครือเถา, ที่ชุ่มน้ำ.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?