กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
อุพฺเพค : ป. ความตื่นเต้น
สงฺโขภ : ป. ความตื่นเต้นโกลาหล, ความกำเริบ
นิทฺทกฺขย : (วิ.) สิ้นความหลับ, ตื่น.
กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
ชาครณ : (นปุ.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ.
ชาคริยา : (อิต.) ความตื่น (จากหลับ), ฯลฯ. ชาครเมว ชาคริยา. ย ปัจ. อิอาคม. ส.ชาคฺริยา.
ผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, หวั่นไหว, ตื่นเต้น
พุทฺธโกลาหล : นป. ความแตกตื่นอยากดูเมื่อพระพุทธเจ้าเสด็จมา
โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
รชนีย : ค. ซึ่งล่อใจ, เร้าใจให้ตื่นเต้น
วิโลฬน : นป. การตื่นเต้น, การยุ่งยาก, การกวน
วิโลเฬติ : ก. ตื่นเต้น, กวน
สงฺโขเภติ : ก. ตื่นเต้น, กำเริบ
สวิคฺค : กิต. สลดใจแล้ว, ตื่นเต้นแล้ว
อนุรุชฺฌติ : ก. ยินดี, พอใจ, ปลื้มใจ, ตื่นเต้น
อปฺปโพธติ (อปโพเธติ) : ก. บรรเทา (ความหลับ), ตื่นอยู่, ขจัด
อวโพธ : นป. อวพุชฺฌน, อิต. ความรู้, ความเข้าใจ, การตรัสรู้, การตื่น
อาทว : ค. ตื่นเต้น
อุสฺสูรเสยฺยา : (อิต.) การนอนมีพระอาทิตย์ ในเบื้องบน, การนอนสาย (ตื่นนอนสาย), ความเป็นคนนอนสาย (ตื่นสาย), ความเป็นผู้นอนสาย.
ปริผนฺทติ : ก. ดิ้นรน, สั่นสะเทือน, เต้น
พุชฺฌติ : ก. รู้, เข้าใจ, รับรู้, ตื่น
ลงฺฆติ : ก. กระโดด, เต้น
ลงฺเฆติ : ก. กระโดด, เต้น
อภิสมฺพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, รู้ยิ่ง, ตื่น
อวพุชฺฌติ : ก. ตรัสรู้, เข้าใจ, ตื่น
อวโพธติ : ก. รู้แจ้ง, ตรัสรู้, ตื่น
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
ปพุชฺฌติ : ก. ตื่น, ตื่น (จากนอน), เข้าใจ, ตรัสรู้
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
ชาคร : (วิ.) ตื่น (จากหลับ), ขยัน, หมั่น, เพียร. ส. ชาคร.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.