Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความทุกข์ร้อน, ทุกข์, ร้อน, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความทุกข์ร้อน, 3830 found, display 1-50
  1. พฺยสน : (นปุ.) ทุกข์เครื่องยังสุขให้พินาศ. วิ. วินฏฺฐ สุขํ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (ทุกข์). ความฉิบหายอันส่ายเสียซึ่งความเจริญให้พิ นาศ. วิ. วินฏฺฐ วุทฺธึ อสติ เขเปตีติ พฺยสนํ (นสฺสนํ). โทษเกิดจากกาม (กามชโทส), โทษเกิดจากความโกรธ (โกปชโทส), ความทุกข์, ทุกข์, ความวิบัติ, ความฉิบหาย, ความวอดวาย, ความพินาศ. วิ. วิรูป มสติ อเนนาติ วฺยสนํ พฺยสนํ วา. วิสิฏฺฐ วา อสติ เขเปตีติ วิยสนํ พฺยสนํ วา.
  2. นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
  3. นิทฺทุกฺข : ค. ไม่มีความทุกข์, หมดความเดือดร้อน
  4. อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
  5. ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
  6. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  7. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  8. กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
  9. กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
  10. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  11. กามทุกฺข : นป. ความทุกข์เพราะกาม, กามทุกข์
  12. กายทรถ : ป. ความกระวนกระวายแห่งร่างกาย, ความทุกข์กาย
  13. กายทุกฺข : นป. ทุกข์ทางกาย, ความลำบากกาย
  14. กิจฺจญ าณ : (นปุ.) ความรู้ซึ่งกรรมอัน...พึงทำ, ฯลฯ, กิจจญาณ ชื่อของญาณอย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่างของการเจริญอริยสัจ ๔ ได้แก่รู้ว่า ทุกข์เป็นของที่ควรกำหนดรู้ สมุทัยเป็น ของที่ควรจะ นิโรธ เป็นของที่ควรทำให้ แจ้ง มรรคเป็นของที่ควรทำให้เกิดมี.
  15. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  16. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  17. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  18. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  19. ขิชฺชติ : ก. เดือดร้อน, ระทมทุกข์
  20. เขท : (ปุ.) ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย, ความเป็นทุกข์. ขิทิ ทีนิเย, โณ.
  21. คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
  22. ฆมฺมาภิตตฺต : (วิ.) อันความร้อนแผดเผาแล้ว.
  23. ฆมฺมาภิภูต, - ภิตตฺต : ค. อันความร้อนแผดเผาแล้ว, ถูกแผดเผาแล้ว
  24. จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
  25. ชราทุกฺข : นป. ความทุกข์เพราะชรา
  26. โชติปาสาณ : ป. หินที่ทำให้เกิดความร้อนหรือแสงสว่าง
  27. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  28. ฑห : (ปุ.) ความร้อน, โรคพิษ, โรคร้อน, โรค ร้อนใน. ฑหฺ ฑยฺหเน, อ.
  29. ฑาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ไฟ, ไข้พิษ, โรคพิษ, ฯลฯ. ฑหฺ+ณ ปัจ.
  30. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  31. ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
  32. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  33. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  34. ติรจฺฉานวิชฺชา : (อิต.) วิชาขวาง, วิชาขวาง ทางไปนิพพาน, ติรัจฉานวิชา คือความรู้ที่ไร้สาระ ความรู้ที่ไม่เป็นประโยชน์ วิชาที่ไม่ทำตนให้พ้นจากทุกข์ซึ่งพระพุทธเจ้า ทรงห้ามมิให้ภิกษุ - สามเณรศึกษา เช่น วิชาทำเสน่ห์ยาแฝดเป็นต้น.
  35. เตชวนฺตุ : ค. ผู้มีฤทธิ์, ผู้มีเดช, ก่อให้เกิดความร้อน, มีความร้อน
  36. ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
  37. ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
  38. ทวน : (นปุ.) ความร้อน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  39. ทหณ ทหน : (ปุ.) การเผา,ความร้อน,ไฟ.ทหฺภสฺมีกรเณ,อ,ยุ.ส.ทหน.
  40. ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
  41. ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
  42. ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.
  43. ทีนตา : อิต., ทีนตฺต นป. ความเป็นคนจน, เข็ญใจ, มีทุกข์, เลว, ทราม, ต่ำช้า
  44. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  45. ทุกฺขการณ : นป. เหตุแห่งทุกข์, ความทุกข์ที่จะต้องได้รับการลงโทษ
  46. ทุกฺขขย ทุกฺขกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งทุกข์, ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ทุกขขยะ ทุกขักขยะ ชื่อของพระนิพพาน, พระนิพพาน. วิ. สพฺพทุกขานํ ขยการณตฺตา ทุกฺขขโย ทุกฺขกฺขโย วา.
  47. ทุกฺขตา : อิต., ทุกฺขตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทนได้ยาก, ความเป็นทุกข์, ความเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งทุกข์
  48. ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
  49. ทุกฺขนิโรธ : (ปุ.) ความดับซึ่งทุกข์, ความดับทุกข์, ทุกขนิโรธ ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๓.
  50. ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3830

(0.0678 sec)