ปฏินนฺทนา : อิต. ความยินดีเฉพาะ, ความบันเทิง
ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
ปโมท : ป. ปราโมทย์, ความบันเทิง, ความร่าเริง, ความยินดี, ความเบิกบาน
มุทา : (อิต.) ความร่าเริง, ความบันเทิง, ความยินดี. มุทฺ หาเส, อ, อิตฺถิยํ อา.
อภินนฺทิต : กิต; นป. ความยินดี, ความบันเทิง
สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
โมชฺช โมทน : (นปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
โมท : (ปุ.) ความบันเทิง, ความชื่นชม, ความยินดี, ความร่าเริง, ความปลื้มใจ. มุทฺ หาเส, โณ, โณฺย, ยุ.
ปฏินนฺทติ : ก. ยินดีเฉพาะ, บันเทิง, ทักทายตอบ, รับด้วยความยินดี
อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
ทานานุโมทนปุญฺญ : (นปุ.) บุญคือความบันเทิงตามซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนา ซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนาทาน, บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาทาน.
สมฺโมทก : ค. ผู้ให้ความบันเทิง
สมฺโมทน : (นปุ.) ความบันเทิงพร้อม, ความบันเทิงด้วยดี, ความบันเทิงใจ, ถ้อยคำเป็นเครื่องบันเทิงใจ. สํปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ยุ.
สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
อภิปฺปโมท : ป. การบันเทิง, ความปราโมทย์ยิ่ง
ทิพฺพติ : ก. เล่น, บันเทิง, รื่นเริง
นนฺทติ : ก. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
นนฺท, นนฺทก : ค. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
โมทติ : ก. ยินดี, บันเทิง, โมทนา
หาส : (วิ.) ยินดี, ร่าเริง, รื่นเริง, บันเทิง, เพลิน, สรวล, เสสรวล, เฮฮา, หัวเราะ. หสฺ หสเน, โณ.
อุท : (วิ.) ยินดี, เบิกบาน, บันเทิง, บันเทิงใจ.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
สมฺโมทติ : ก. บันเทิง
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้