นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
สมฺปหสน : (นปุ.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
สมฺปหสนา สมฺปหสา : (อิต.) ความร่าเริงทั่วพร้อม, ความรื่นเริงทั่วพร้อม, ความร่าเริงเต็มที่, ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความยินดี, ความยกย่อง. สํ ป ปุพฺโพ, หํส ปีติยํ, ยุ, อ.
สมฺมท : (ปุ.) ความยินดี, ความรื่นเริง, ความบันเทิง. สํปุพฺโพ, มุท หาเส, อ. แปลง อุ เป็น อ. ส. สมฺมท.
หสน : (นปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความอิ่มใจ. หสฺ หํสฺ วา ปีติยํ, อ, ยุ. ถ้าตั้ง หสฺ ธาตุ พึงลงนิคคหิตอาคม.
อาโมท : (ปุ.) ความร่าเริง, ความรื่นเริง, ความชื่นชม, ความยินดี.อาปุพฺโพ, มุทฺหาเส, โณ.
ชคฺฆ ชคฺฆิ : (ปุ.?) การร่าเริง, การรื่นเริง, การหัวเราะ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ชคฺฆฺ หสเน, อ, อิ. ชคฺฆิตาเย เพื่ออันหัวเราะ. ตาเย ปัจ.
ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบที่สุดธาตุ.
ทว : (ปุ.) การเล่น, กีฬา, ความสนุก, ความเฮ ฮา, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. ทวฺ. วิหาเร. อ. ป่า, หมุ่ไม้, ต้นไม้. ทุ คติยํ หึสายํ วา วุทฺธิยํ วา, โณ, เป็น ทวา (อิต.)ก็มีส.ทว,ทาว.
อานนฺท : (ปุ.) ความเพลิดเพลินโดยยิ่ง, ความเพลิดเพลินยิ่ง, ความยินดีมาก, ความปลื้มใจ, ความรื่นเริง.วิ. อา ภุโสนนฺทยตีติอานนฺโทอาปุพฺโพ, นนฺทฺนนฺทเน, อ.
ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
สมฺโมทนียกถา : (อิต.) ถ้อยคำเป็นที่ตั้งแห่งความบันเทิงพร้อม, ถ้อยคำอันบุคคลผู้ฟังพึงบันเทิงด้วยดี, ถ้อยคำอันยังผู้ฟังให้รื่นเริงด้วยดี, ถ้อยคำเป็นที่บันเทิงใจ.
ทิพฺพติ : ก. เล่น, บันเทิง, รื่นเริง
นนฺทติ : ก. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
นนฺทน : (วิ.) สำเร็จ, เพลิดเพลิน, ยินดี, รื่นรมย์, รื่นเริง, สนุก, เป็นที่เพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นนฺท, นนฺทก : ค. ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, บันเทิง, พอใจ
สุนนฺท : (วิ.) เป็นที่ยินดี, เป็นที่เพลิดเพลิน, ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, สบาย.
หสติ : ก. หัวเราะ, ยินดี, รื่นเริง
หาส : (วิ.) ยินดี, ร่าเริง, รื่นเริง, บันเทิง, เพลิน, สรวล, เสสรวล, เฮฮา, หัวเราะ. หสฺ หสเน, โณ.
อุพฺพิลาวิต : ค. ดีใจ, รื่นเริง, ชื่นบาน
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.