วิตฺติ : อิต. ความยินดี, ความสบาย
โสขย : นป. ความสุข, ความสบาย
ผาสุ : (นปุ.) ความอิ่มใจ, ความพอใจ, ความยินดี, ความสำราญ, ความสุข, ความสบาย. ผสฺสฺ สินิเยฺห, ณุ. ลบ สฺ สังโยคทีฆะต้นธาตุ. อภิฯ และฎีกา อภิฯ
นิพฺพุต : ค. ซึ่งดับ, เย็น, สงบ; อันปราศจากความอยาก, เงียบ; สุข, สบาย
นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
อนามย : (วิ.) มิใช่คนเจ็บไข้, ไม่มีความเจ็บไข้, มิใช่ความเจ็บไข้, สุข, สบาย, สุขสบาย, เป็นสุข.
หิลาทน : (นปุ.) ความสบาย, ฯลฯ.
คท : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. คํ วุจฺจติ ทุกฺขํ. ตํ เทตีติ คโท. คปุพฺโพ, ทา ทาเน, อ. ส. คท.
คิลาน : (วิ.) สิ้นความสำราญ, เจ็บไข้, เป็นไข้, ไม่สบาย.
เคลญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความเจ็บ, ความเป็นแห่งความเจ็บไข้, ฯลฯ, ความเป็นแห่งคนเจ็บ, ฯลฯ. วิ. คิลานสฺส ภาโว เคลญฺญ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความเจ็บ, ฯลฯ, ความไม่สบาย, โรค. ณฺย ปัจ. สกัด.
โรค : ป. โรค, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย
สุขิต : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสุข วิ. สุขํ อิโต สุขิโต. ผู้สบาย. สุขฺ นิทฺทุกฺเข, อิโต, ผู้มีความสุขเกิดแล้ว ผู้มีความสุขเกิดพร้อมแล้ว วิ. สุขํ ชาตํ สํชาตํ วา เอตสฺสาติ สุขิโต. ผู้เป็นไปด้วยความสุข ว. สุเขน อิโต ปวตฺโตติ สุขิโต.
โสมนสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจดี, ความเป็นผู้มีใจดี, ความปลาบปลื้ม, ความเบิกบาน, ความสุขทางใจ, ความสุขทางใจ, ความโสมนัส, โสมนัส คือเสวยอารมณ์ที่สบายอันเกิดแต่เจโตสัมผัส. วิ. สุมนสฺส ภาโว โสมนสฺสํ. สุมน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลงสฺ อาคม แปลง ย เป็น ส รูปฯ ๓๗๑.
อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
อาพาธ : (ปุ.) โรคอันเบียดเบียนโดยยิ่ง, ความเบียดเบียนยิ่ง, ความไม่สบาย, ความป่วย, ความป่วยไข้, ความเจ็บไข้, โรค.วิ.อาพาธติจิตฺตํวิโลเฬตีติอาพาโธ.อาปุพฺโพ พาธฺ วิโลฬเน, อ.ส. อาพาธ.
อามย : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความป่วยไข้, ความไม่สบาย, โรค.วิ.อามยติรุชฺชตีติอามโย.อาปุพฺโพ, มยฺคติมฺหิ, อ. อาภุโส มิโนติอตฺตสมงฺคีนนฺติวาอามโย.อาปุพฺโพ, มิหึสายํ, โณ.อมฺวาโรเค, โย, ทีโฆ.ส. อามย.
เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
พทฺท : (วิ.) งาม, ดี, เจริ, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, สุข, สบาย, สำราญ. ภทิ กลฺยาเณ, โท. แปลง ภ เป็น พ.
ภทฺท :
(วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
สุนนฺท : (วิ.) เป็นที่ยินดี, เป็นที่เพลิดเพลิน, ยินดี, เพลิดเพลิน, รื่นเริง, สบาย.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
อโรค : (วิ.) ไม่มีโรค, ไม่มีไข้, ไม่เป็นโรค, ไม่เป็นไข้, สบาย.
คุยฺหปุริส : ป. สปาย, ผู้สืบความลับ, สายลับ, สายสืบ
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว