กลฺลตา : อิต. ความสามารถ, ความพร้อม
โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
คหฏฺฐ : (ปุ.) คนผู้ดำรงอยู่ในเรือน, คนครอง เรือน, คหัฐ คฤหัสถ์ (คนครองเรือน ไม่ ใช่นักบวช). วิ. เคเห ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ คนผู้ดำรงอยู่ในป่าคือกิเลส, คนผู้ดำรงอยู่ ในเรือนด้วยสามารถแห่งความกำหนัด ในกามคุณห้า วิ. เคเห ปญฺจกามคุเณ ราควเสน ติฏฺฐตีติ คหฏฺโฐ. คหปุพฺโพ ฐา คตินิวุตฺติยํ, กฺวิ.
คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
จินฺตากวิ : ป. จินตกวี, ผู้สามารถในการแต่งร้อยกรองตามแนวความคิดของตน
จุตูปปาตญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งจุติ และปฏิสนธิเครื่องเข้าไปตก, ญาณอันเป็น ไปด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งอันเคลื่อน และอันเข้าตก, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งอัน เคลื่อนและอันเข้าถึง, ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่ง การจุติและการเกิด, ความรู้ในจากจุติและ การเกิด.
เจโตวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยอำนาจ แห่งใจ. ความหลุดพ้นที่มีสมาธิเป็น ปทัฏฐาน คือได้บรรลุฌานมาก่อนแล้วจึง บำเพ็ญวิปัสสนาต่อจนละกิเลสาสวะได้ เรียกว่า เจโตวิมุติ. ลำพังฌาน ไม่สามารถ ละกิเลสาสวะได้เด็ดขาด เป็นแต่สะกดไว้ อย่าเข้าใจผิด.
โจปนวาจา : (อิต.) คำพูดอันยังผู้ฟังให้ไหว, โจปนวาจา คือ กิริยาอาการพิเศษที่เป็นไป ในคำพูด ซึ่งทำให้ผู้ฟังรู้ความประสงค์ ของผู้พูด.
ฉนฺทราค : (นปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถ แห่งความพอใจ, ฯลฯ.
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
ญาณินฺทฺริย : นป. ญาณินทรีย์, พลังแห่งญาณ, ความสามารถหรือยิ่งใหญ่แห่งญาณ
ตทงฺควิกฺขมฺภนสมุจฺเฉทปฏิปสฺสทฺธินิสฺสร – ณวิมุตฺติ : (อิต.) ความหลุดพ้นด้วยสามารถ แห่งองค์นั้นๆ และความหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันข่ม และหลุดพ้นด้วย สามารถแห่งอันสงบเฉพาะและความหลุดพ้นด้วยสามารถแห่งอันออกไป.
ตุฏฺฐภาวมงฺกุภาววส : (ปุ.) ความสามารถ แห่งความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีและความเป็นแห่งบุคคลผู้เก้อ, สามารถแห่งความเป็นผู้ยินดีและความเป็นผู้เก้อ.
ทกฺขตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ, ความคล่องแคล่ว
ทกฺเขยฺย : นป. ความเป็นผู้ฉลาดสามารถ, ความชำนาญ
ทฬฺหธมฺม : ค. มีธรรมมั่นคง, ขมัง, เรี่ยวแรง, แข็งขัน, ชำนิชำนาญ (ในศิลปศาสตร์บางประการ), มีความสามารถ
นนฺทิราค : (ปุ.) ความกำหนัดด้วยสามารถแห่งความเพลิดเพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัด ด้วยสามารถแห่งตัณหาเป็นเครื่องเพลิด เพลิน, ฯลฯ, ความกำหนัดด้วยอำนาจแห่งตัณหาเครื่องเพลิดเพลิน, ฯลฯ.
นิติภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลตาม กฎหมาย, ภาวะตามกฎหมาย, นิติภาวะ. ไทย นิติภาวะคือ ความเป็นผู้มีอายุตามที่ กฎหมายกำหนดไว้ให้มีความสามารถ เต็มที่ตามกฎหมาย.
ปฏิภาณ, - ภาน : นป. ปฏิภาณ, ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
ภพฺพตา : อิต. ความสามารถ, ความเหมาะสม
มโนวิเลข : (ปุ.) ความขูดพิเศษแห่งใจ, ความสงสัย. วิ. มนํ วิเลขติ ทฺวิธากรณวเสนาติ มโนวิเลโข.
มหาสมณ : (ปุ.) สมณะผู้ใหญ่, สมณะผู้มีคุณธรรมและมีความรู้ความสามารถมาก, พระมหาสมณะเป็นพระนามของพระมหาเถระผู้ได้รับสถาปนาเป็นพระประมุขของสงฆ์ มีพระเกียรติสูงกว่าสมเด็จพระสังฆราช. สมัยใดทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสมณะ สมัยนั้นจะไม่ทรงสถาปนาสมเด็จพระมหาสังฆราช.
ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
สกฺกตฺต : นป. ความเป็นพระอินทร์, ความเป็นผู้สามารถ
สนฺถวตฺติ : (อิต.) ความรักด้วยสามารถแห่งความคุ้นเคย, ฯลฯ, สันถวไมตรี.
สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
สมตฺถน : (นปุ.) ความสำเร็จ, ความตกลง, ความสามารถ. ยุปัจ. ส. สมรฺถน., สมรฺถนา.
สมตฺถภาว : (ปุ.) ความสามารถ, สมรรถภาพ.
สมุจฺเฉทปหาน : (นปุ.) การละด้วยความสามารถแห่งอันตัดขาด, สมุจเฉทปหาน คือ การละ(ตัด)กิเลสได้เด็ดขาด เป็นการสละกิเลสด้วยอริยมรรคของพระอริยบุคคล.
สมุจฺเฉทวิรติ : (อิต.) ความงดเว้นด้วยความสามารถแห่งการตัดขาด, ความงดเว้นด้วยความตัดขาด, สมุจเฉทวิรัติ เป็นวิรัติของพระอริยบุคคล.
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
อธิปฺปาโยส : ป. ความแตกต่าง, ลักษณะพิเศษ, ความหมายพิเศษ
อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
อภิชฺฌาวิสมโลภ : (ปุ.) ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยความเพ่งเล็ง, ความโลภมีส่วนเสมอไปปราศแล้วด้วยสามารถแห่งความเพ่งเล็งหมายความว่า อยากได้ไม่เลือกทางอาจปล้น ฆ่า ชิงทรัพย์ ฯลฯขอให้ได้เป็นเอาทั้งนั้น.
อภิชาตอภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตรชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่าตระกูล).
อภิชาต อภิชาตปุตฺต : (ปุ.) คนมีตระกูล, บุตร ชั้นสูง, อภิชาตบุตร (ลูกผู้เกิดมามีความรู้ ความสามารถและความประพฤติดีสูงกว่า ตระกูล).
อริยชน : (ปุ.) ชนผู้เจริญ, อารยชน (ชนผู้เจริญด้วยความรู้ความสามารถและขนบธรรม-เนียมอันดีงาม).
อลกมฺม : (ปุ.) ความควรแก่การงาน, ความสามารถเพื่ออันทำ, ความสามารถเพื่อจะทำวิ.กมฺมสฺสอลํสมตฺโถติอลํกมฺโมเป็นอมาทิปรตัป.รูปฯ ๓๓๖.
อลวจน : (ปุ.) ความสามารถเพื่ออันกล่าววิ.วจนายอลํสมตฺโถติอลํวจโน.
อวชาตอวชาตปุตฺต : (ปุ.) บุตรผู้เกิดต่ำแล้ว, ลูกชั้นต่ำ, อวชาตบุตร (ลูกที่เกิดมามีความรู้ความสามารถและความประพฤติต่ำกว่าตระกูล).
อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
อาเทสนาปาฏิหาริยสาสนี : (วิ.) (วาจา)เป็นเครื่องสั่งสอนด้วยอิทธิอันนำเสียซึ่งปฏิปักษ์ด้วยสามารถแห่งความแสดงอ้าง.
อาสยานุสยญาณ : (นปุ.) ญาณอันเป็นไป ด้วยสามารถแห่งความรู้ซึ่งฉันทะเป็น ที่มา นอนและธรรมเป็นที่มานอนตาม, ญาณ (ความรู้) ในฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลส อันนอนเนืองของสัตว์ ท., ญาณเป็นเครื่อง รู้ซึ่งฉันทะเป็นที่มานอน และกิเลสเป็นที่มา นอนตาม, ปัญญาหยั่งรู้ อัธยาศัยและอนุสัย ของสัตว์ท.
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
อุสฺสหน : นป. อุตสาหะ, ความเพียร, ความอาจ, ความสามารถ
ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.