คติ. : (อิต.) ภพเป็นที่ไปของสัตว์ (มีกามภพ เป็นต้น), ภูมิอันสัตว์พึงไป, ภูมิเป็นที่ไป ของสัตว์. วิ. สุกตทุกฺกตกมฺมวเสน คนฺตพฺ- พาติ คติ. ความหมดจด, ความสละสลวย, ความเป็นอยู่, ความรู้, ความสำเร็จ, ความตกลง(ลงเอย), ที่เป็นที่อยู่, ที่อาศัยแบบ, แบบอย่าง, ลักษณะ, กำเนิด, ความเกิด, คดี (เรื่อง ความที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), การส่ง, การไป, การเป็นไป, การดำเนิน, การดำเนินไป, การไป, การเคลื่อน, การถึง, การบรรลุ, ทาง, ทางไป, ทางดำเนิน, ทาง ดำเนินไป, อัชฌาสัย. วิ. คมนํ คติ. ส. คติ.
นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิปฺผชฺชน : นป. การเกิดผล, ความสำเร็จ, ความสมบูรณ์
ปกปฺปน : นป., - นา อิต. การจัดแจง, ความดำริ, ความสำเร็จ, การให้เหตุผล
เวยฺยตติย : นป. ความสว่าง, ความกระจ่าง, ความสำเร็จ
โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
อภินิปฺผตฺติ : อิต. การผลิต, ความสำเร็จ
อภิสิทฺธิ : (อิต.) ความเจริญยิ่ง, ความสำเร็จยิ่ง, ความสำเร็จ, ไทยใช้อภิสิทธิ์.ในความหมายว่าทำอะไรได้เหนือคนอื่นเหนือกฏ-หมายถ้ามีคนใช้อภิสิทธิ์ในความหมายนี้สังคมก็วุ่นวาย ประเทศชาติก็วุ่นวาย.
อาโภค : (ปุ.) ความบริบรูณ์, ความสำเร็จ, ความคำนึง, ความคิด, ความคิดนึก, ความรำพึง, ความผูกใจไว้, ความหวนระ-ลึก, ความไม่มีโทสะ.อาปุพฺโพ, ภุชฺปาลนชฺโฌหาเรสุ, โณ.ส. อาโภค.
อิชฺฌน : นป., อิชฺฌนา อิต. ความเจริญ, ความรุ่งเรือง, ความสำเร็จ
อิทฺธ : (อิต.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จกิจนั้น ๆ, ฤทธิ์, เดช. อิธฺ วุฑฺฒิยํ, อิ, ทฺสํโยโค. คำฤทธิ์ ไทยใช้ในความหมายว่า อำนาจศักดิ์สิทธิ์ หรือการทำอะไร ๆ ได้พิเศษกว่าคนอื่น. ส. ฤทฺธิ.
นิปฺปตฺติ : อิต. ความสำเร็จ
สสิทฺธิ : อิต. ความสำเร็จ
สิชฺฌน : นป. ความสำเร็จ
นิปตฺติ : (อิต.) การสำเร็จ, ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
นิปฺผชฺช : (นปุ.) ความสำเร็จ. นิปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, โณฺย แปลง ป เป็น ผ ทฺย เป็น ชฺช ซ้อน ปฺ.
นิปฺผตฺติ : (อิต.) ความสำเร็จ. นิ+ปทฺ+ติ ปัจ. ส.นิษฺปตฺติ
สมิชฺณน : (นปุ.) ความรุ่งเรือง, ความเจริญรุ่งเรือง, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฒิยํ, ยุ. ลง ย ปัจ ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
สมิทฺธิ : (นปุ.) ความมั่งคั่ง, ความสมบูรณ์, ความสำเร็จด้วยดี, ความสัมฤทธิ์, ความสำเร็จ. สํปุพฺโพ, อิธฺ วุฑฺฒิยํ, โต, ติ วา.
สิทฺธิ : (อิต.) คำสั่ง, คำสั่งสอน. สิธุ สาสเน. ความเจริญ, มงคล. สิธุ มงฺคเ ลฺย. การบรรลุ, การบรรลุผล, การสมความปรารถนา, ความสมปรารถนา, ความสำเร็จ. สิธฺ สํสิทฺธิยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุเป็น ทฺ. ไทย สิทธิ หมายถึง อำนาจอันชอบธรรมที่จะทำอะไรได้ตามกฎหมาย. ส. สิทฺธิ.
อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
นนฺท : (ปุ.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ความยินดี, ความรื่นรมย์, ความรื่นเริง, ความสนุก, นันทะ ชื่อคน, นนฺทฺ สมิทฺธิยํ นนฺทเน วา, อ. ส. นนฺท.
นนฺทิ : (อิต.) ความสำเร็จ, ความเพลิดเพลิน, ฯลฯ. วิ. นนฺทนํ นนฺทิ อิ ปัจ. ส. นนฺทิ.
นิฏฐา : อิต. ความสำเร็จ, ที่สุด, จบ, ความตกลง, ความหมดไป, การหายไป, การตกอันดับ
ปรินิฏฺฐาน : นป. ความสำเร็จ, การจบ
ปสิทฺธิ : อิต. ความสำเร็จ, ความปรากฏ, ความชำนาญ
ลทฺธภาว : ป. ความสำเร็จ, การบรรลุ
สมตฺถน : (นปุ.) ความสำเร็จ, ความตกลง, ความสามารถ. ยุปัจ. ส. สมรฺถน., สมรฺถนา.
สมฺปาท : (ปุ.) ความสำเร็จ, การตกแต่ง.
สาธน : (นปุ.) ความสำเร็จ, เครื่องอุปกรณ์ที่จะให้สำเร็จ, อุปกรณ์, การกล สาธนะ ชื่อของศัพท์อันท่านให้สำเร็จมาแต่รูปวิเคราะห์ ศัพท์ ที่ท่านให้สำเร็จมาแต่วิเคราะห์. วิ. กิริยํ สาเธตีติ สาธนํ. สาธฺ. สํสิทฺธิยํ, ยุ. ส. สาธน.
อิทฺธิปาท : (ปุ.) ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึง ความสำเร็จ, คุณเครื่องให้สำเร็จ, คุณ เครื่องให้สำเร็จความประสงค์ตามเป้า หมาย, ปฏิปทาแห่งความสำเร็จ.
กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
กปฺปรุกฺข : (ปุ.) ต้นไม้อันยังความปรารถนา ให้สำเร็จ, ต้นไม้อันยังประโยชน์ให้สำเร็จ ดังใจนึก (ปรารถนา), ต้นไม้อันตั้งอยู่ตลอดกัป, ทิพยพฤกษ์, ต้นกัลปพฤกษ์ ชื่อ ต้นไม้ชนิดหนึ่ง จำพวกคูน หรือราชพฤกษ์ ดอกสีชมพู.
กมฺมนฺตสมฺปทา : อิต. การถึงพร้อมด้วยการงาน, ความสำเร็จแห่งการงาน
จินฺตามย : ค. ซึ่งสำเร็จด้วยความคิด
ชยสิทฺธิ : (อิต.) ความสำเร็จแห่งความชนะ, ความสำเร็จแห่งชัยชนะ.
ทานานุโมทนปุญฺญ : (นปุ.) บุญคือความบันเทิงตามซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนา ซึ่งทาน, บุญคือการอนุโมทนาทาน, บุญสำเร็จด้วยการอนุโมทนาทาน.
ธมฺมาภิสมย : (ปุ.) ความถึงพร้อมเฉพาะซึ่งธรรม, ความตรัสรู้ซึ่งธรรม, ธรรมาภิสมัย (การสำเร็จมรรคผล).
ปตฺตานุโมทนามย : (วิ.) (บุญ) สำเร็จด้วยความยินดีตามซึ่งส่วนบุญอันถึงแล้ว, ฯลฯ.
ปโยควิปตฺติ : อิต. ความวิบัติแห่งความพยายาม, ความไม่สำเร็จแห่งวิธีการ, การประกอบผิดทาง
ปโยคสมฺปตฺติ : อิต. ความถึงพร้อมแห่งความพยายาม, ความสำเร็จแห่งการประกอบความพยายาม
ปโยชน : (นปุ.) การรับใช้, การส่งไป, สิ่งอันเหตุพึงทำให้สำเร็จ, ผลอันสำเร็จมาจาก เหตุ. วิ. ยํ ผลํ เหตุนา โยเชตพฺพํ ปวตฺตพฺพํ ตสฺมา ตํ ผลํ ปโยชนํ. ปปุพฺโพ, ยุชฺ ปวตฺติยํ, ยุ. สิ่งอันบุคคลพึงประกอบ ( เพราะเป็นสิ่งที่ให้คุณ ) , ความดี, วิ. ปโยเชตพฺพนฺติ ปโยชนํ. ยุชฺ โยเค. ไทย ประโยชน์ ใช้ในความหมายว่า สิ่งที่มีผลใช้ได้ดีสมกับที่คิดมุ่งหมายไว้ หรือผลที่ได้ตามต้องการสิ่งที่เป็นผลดี สิ่งที่เป็นคุณ. ส. ปฺรโยชน.
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
ปริญฺญาปตฺต : (นปุ.) แผ่นแสดงความรอบรู้, ปริญญาบัตร คือ บัตรที่แสดงวิทยฐานะ ของผู้สำเร็จการศึกษา มีศักดิ์และสิทธิ์ ระดับปริญญา.
ปริปูรก : ค. ผู้สำเร็จสมความปรารถนา, ผู้ใส่, ผู้บรรลุ
ปิหน : นป. ความริษยา, ความไม่อยากให้ผู้อื่นได้ดี, ความรู้สึกไม่สบายใจในความสำเร็จของผู้อื่น; ปรารถนาที่จเป็นเช่นนั้นบ้าง
โพธิญาณ : (ปุ.) ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้, โพธิญาณ คือ ความตรัสรู้ที่ได้สำเร็จเป็นพระพุทธเจ้า.
มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
มหิทฺธิ มหิทฺธิก : (วิ.) มีความสำเร็จมาก, มีความงอกงามมาก.