Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความหดหู่, หดหู่, ความ , then ความ, ความหดห, ความหดหู่, หดห, หดหู่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความหดหู่, 3696 found, display 1-50
  1. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  2. ถีนมิทฺธ : (นปุ.) ความหดหู่และความเคลิบเคลิ้ม, ความง่วงเหงาและความหาวนอน.
  3. อลีนตา : อิต. ความไม่หดหู่, ความไม่เฉื่อยชา, ความมีใจเปิดเผย, ความซื่อสัตย์สุจริต
  4. ปฏิลีน : ค. หลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  5. ปฏิลียน : นป. การหลบหลีก, ถอยหนี, หดหู่
  6. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  7. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  8. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  9. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  10. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  11. ปฏิลียติ : ก. หลบหลีก, ถอยหนี, (จิต) หดหู่, ย่อหย่อน
  12. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  13. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  14. กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  15. กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  16. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  17. กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
  18. กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
  19. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  20. กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
  21. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  22. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  23. กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
  24. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  25. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  26. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  27. กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้ ๒. เลว, ไร้ประโยชน์; ๓. กิต. ไถแล้ว
  28. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  29. กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
  30. กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
  31. กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
  32. กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
  33. กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
  34. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  35. กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
  36. กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
  37. กณฺณสูล : นป. ความเจ็บปวดหู, สิ่งที่ไม่ไพเราะหู
  38. กตกิพฺพิส : ค. ผู้มีโทษ, ผู้มีความผิด
  39. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  40. กตญฺญูกตเวที : (ปุ.) บุคคลผู้รู้คุณท่านและ ตอบแทนคุณท่าน, ฯลฯ. ไทยตัดพูดเฉพาะ กตัญญู แต่ความหมาย หมายถึง กตเวที ด้วย.
  41. กตตฺต : นป. ความเป็นผู้มีการงานอันทำแล้ว
  42. กตฺตพฺพตา : อิต. ความเป็นสิ่งที่ควรทำ
  43. กตฺตุกมฺยตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  44. กตฺตุกามตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
  45. กตฺถนา : (อิต.) การชม, การชมเชย, การยก ย่อง, การพรรณา, การอวด, ความชม, ฯลฯ. กตฺถฺ สิลาฆายํ, ยุ, อิตฺถิยํ อา.
  46. กตปุญฺญตา : อิต. ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้ว
  47. กตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง.............นั้น เป็น....อัน....ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง....นั้น อัน...ทำแล้ว, ความเป็นแห่ง...อัน...ทำแล้ว.
  48. กตเวทิตา : อิต. ความเป็นผู้สนองคุณท่าน, การตอบแทนคุณท่าน
  49. กตานุคฺคห : ค. ผู้ได้รับความอนุเคราะห์
  50. กตาปราธ : ค. ผู้ต้องโทษ, ผู้มีความผิด
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3696

(0.2329 sec)