กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
ขรตฺต : นป. ความขรุขระ, ความหยาบ
ถูลตา : อิต. ความอ้วน, ความหยาบ
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กายทุฏฐุลฺล : นป. ความประพฤติชั่วหยาบทางกาย
นิฏฐุริย : นป. ความหยาบคาย, ความโหดร้าย, ความรุนแรง, ความแข็งกระด้าง
ปทรสมาจาร : ค. ผู้มีความประพฤติทราม, ผู้มีมรรยาทหยาบคาย, ผู้ดื้อดึง
มหิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาใหญ่, ฯลฯ, ความมักมาก (เห็นแก่ได้) เป็นกิเลสที่หยาบกว่าอิจฉา.
อาคู : ป. ความหยาบช้า, บาป
กกฺขล กกฺขฬ : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ชั่วร้าย, แข็ง กล้าแข็ง, กระด้าง, หยาบ, หยาบช้า, หยาบคาย, ทารุณ, สาหัส, รุนแรง, ขรุขระ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺขโล กกฺขโฬ วา. กิพฺ พิสปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ, กิพฺพิสโลโป, อิสฺส อตฺตํ, กรสฺส ขโร, รสฺส ลตฺตํ ฬตฺตํ วา, กฺสํโยโค. ส. กฐร.
กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
กฐิ น : (วิ.) แข็ง, กักขละ, สาหัส. เลว, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, ด่วน, รีบ. กฐฺ กิจฺฉ ชีวเน, อิโน. แปลง ฐ เป็น ถ เป็น กถิน บ้าง. ส. กฐิน.
กุรู กุรูร : (วิ.) แข็ง, แข็งกระด้าง, หยาบ, หยาบคาย, หยาบช้า, กักขละ, กักขฬะ, สาหัส. วิ. กนฺตตีติ กุรูรํ. กนฺตฺ เฉทเน, อูโร. กนฺตสฺส กุราเทโส, กิพฺพิสํ กโรตีติ กุรูโร. กรฺ หึสายํ, อูโร, อสฺสุ. กุรฺ อกฺโก- เส วา, อูโร. ศัพท์ต้นลง อู ปัจ.
ขร : (วิ.) เฉียบแหลม, กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, หยาบ, ขรุขระ. ขรฺ วินาเส, อ.
ขล : (วิ.) ไหว, พลาด, ผิด, ต่ำ, ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, ชั่ว, หย่อน, หยาบ, หยาบคาย, กระด้าง. ขลฺ จลเน, อ. รวม, รวบรวม, สะสม. ขลฺ สญฺจินเน, อ. ชำระ, ล้าง, สะอาด. ขลฺ โสเจยฺเย, อ.
ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
ถีน : (วิ.) แข็ง, หยาบ, กระด้าง. ถภิ ปติพนฺธเน, อีโน. ลบที่สุดธาตุ.
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ถุลฺล : ค. อ้วน, ใหญ่, หยาบ, ชั่วหยาบ
ทุฎฺฐุลฺล : (วิ.) ชั่ว, ร้าย, ลามก, หยาบ, ชั่ว หยาบ, หยาบช้า, ชั่วช้า, ตลกคะนอง. วิ. ทุฎฺฐุ นิสฺสิตํ ทุฎฺฐุลฺลํ. ทุฎฺฐุ ฐานํ วา ทุฏฺฐุลฺลํ. ล ปัจ. แปลงเป็น ลฺล นิสสิตตัท. รูปฯ ๓๖๘.
นิฏฐรนิฏฺฐร : (วิ.) กักขฬะ, กักขฬะ, แข็ง, หยาบ, หยาบช้า. นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อิโร, อุโร.
ผรุส : (วิ.) ขรุขระ, หยาบ, หยาบคาย, อย่างหยาบ, ปอน, เศร้าหมอง.
ภาร : (วิ.) หนัก, หยาบ, หนา.
โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
อุฬาร : (วิ.) ใหญ่, ใหญ่โต, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, ประเสริฐ, เลิศ, เลิศล้น, กว้างขวาง, แพร่หลาย, ไพเราะ, หยาบ (ไม่ละเอียด), โอฬาร. วิ. อุฬนํ อุคฺคมนํ วิปุลคมนํ อุฬารํ. อุลฺ อุคฺคมเน, อาโร, ลสฺส ฬตฺตํ. ส. อุทาร.
นิรนฺตร : (วิ.) มีระหว่างออกแล้ว, หาระหว่าง มิได้, ไม่มีระหว่าง, ไม่ขาด, ไม่ขาดสาย, ไม่เว้นว่าง, ติดต่อกัน, ติดต่อกันไป, ติดต่อกันตลอดไป, เสมอ, หนา, ชิด, หยาบ. ส. นิรนฺตร.
โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกสวาจา : (อิต.) คำหยาบ, ฯลฯ, วาจา หยาบ, ฯลฯ.
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฏ : ค. หยาบ, กระด้าง
กกฺขฬ : ค. หยาบ, กระด้าง, ดุร้าย, กักขฬะ
กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้
๒. เลว, ไร้ประโยชน์;
๓. กิต. ไถแล้ว