Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความหวาดกลัว, หวาด, ความ, กลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความหวาดกลัว, 3751 found, display 1-50
  1. จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
  2. สนฺตาส : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดกลัว
  3. ภย : (วิ.) สะดุ้ง, กลัว, หวาด, เป็นที่กลัว.
  4. อุสฺสงฺกี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, กลัว, ตกใจ. อุปุพฺโพ, สกิ สงฺกายํ, อี.
  5. ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
  6. อนุตฺตราสีอนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
  7. อนุตฺตราสี อนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่ สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
  8. อาตงฺค : (นปุ.) ความกลัว, ความหวาด, ความสะดุ้ง.อาปุพฺโพ, ตสฺอุตฺราเส, อ.แปลง สเป็นคนิคคหิตอาคม.
  9. อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.
  10. อุตฺราสิ อุตฺตราสี : (วิ.) หวาด, หวาดเสียว, สะดุ้ง, ตกใจ, กลัว.
  11. โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  12. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  13. ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
  14. ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
  15. ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  16. ตาส : (ปุ.) ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, โณ.
  17. ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
  18. ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
  19. ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
  20. นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
  21. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  22. นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
  23. นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
  24. นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
  25. นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
  26. นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
  27. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  28. ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
  29. ปริตฺตาส : (ปุ.) ความหวาด, ความสะดุ้ง, ความพรั่นพรึง. ปริปุพฺโพ, ตสฺ อุพฺเพเค, โณ.
  30. ปาปภีรุตา : อิต. ความสะดุ้งกลัวต่อบาป
  31. ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
  32. ภยาคติ : (อิต.) ความลำเอียงอันเกิดจากความกลัว, ความลำเอียงเพราะความกลัว.
  33. ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
  34. ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
  35. ภีติ : อิต. ความกลัว
  36. ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
  37. ภีรตา : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
  38. ภึสน : (นปุ.) ความกลัว, ฯลฯ.
  39. เภสม เภสฺม : (นปุ.) ความพึงกลัว, ความน่าสพึงกลัว. ภี ภเย, สฺมปจฺจโย. ศัพท์ต้นลง อ ปัจ. ประจำธาตุ.
  40. มรณภย : (นปุ.) ความกลัวต่อความตาย, ความกลัวแต่ความตาย, ความกลัวอันเกิดแล้วแต่ความตาย, ความกลัวต่อมรณะ, ความกลัวแต่มรณะ, ภัยต่อมรณะ, ภัยแต่มรณะ, ภัยคือมรณะ.
  41. มหพฺภย : ค. มีความกลัวมาก, น่ากลัวมาก
  42. หิรโอตฺตปฺป หิโรตฺตปฺป : (นปุ.) ความละอายบาปและความกลัวบาป, ความละอายแก่ใจและความเกรงกลัว.
  43. หิโรตฺตปฺป : นป. ความละอายใจและความเกรงกลัวบาป
  44. อนุตฺราสี : ค. ผู้ไม่สะดุ้ง, ผู้ไม่หวาดกลัว
  45. อนุพฺพิคฺค : ค. ไม่สะดุ้งกลัว, ไม่หวาดกลัว
  46. อนุภายติ : ก. กลัว, หวาดกลัว
  47. อโนตฺตปฺป : นป. ความไม่เกรงกลัวต่อบาป
  48. อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  49. อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
  50. อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750

(0.1608 sec)