โอตปฺป โอตฺตปฺป : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ความเกรงความผิด (เกรง คือ กลัว), ความกลัว, ความเกรงกลัว, ความสะดุ้งกลัวต่อบาป, ความเกรงกลัวต่อบาป, ความกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งกลัวต่อผลของความชั่ว, ความเกรงกลัวต่อผลของความชั่ว, ความกลัว บาป. วิ. โอตฺตปฺปติ ปาปโตติ โอตปฺปํ โอตฺตปฺปํ วา. อวปุพฺโพ, ตปฺ อุพฺเพเค, อ. แปลง ป เป็น ปฺป ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
หิรโอตฺตปฺป หิโรตฺตปฺป : (นปุ.) ความละอายบาปและความกลัวบาป, ความละอายแก่ใจและความเกรงกลัว.
หิโรตฺตปฺป : นป. ความละอายใจและความเกรงกลัวบาป
อโนตฺตปฺป : นป. ความไม่เกรงกลัวต่อบาป
อโนตปฺปอโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาปทุจจริต.วิ. น โอตฺตปฺปตีติอโนตฺตปฺปํ.วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
อโนตปฺป อโนตฺตปฺป : (นปุ.) ความไม่เกรงกลัว, ความไม่สะดุ้ง, ความไม่สะดุ้งกลัวต่อบาป ทุจจริต. วิ. น โอตฺตปฺปตีติ อโนตฺตปฺปํ. วิปัสสนาทีปนีฏีกา.
โอตฺตปฺป : นป. ความเกรงกลัวต่อบาป, ความสะดุ้งต่อบาป
จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
จิตฺตุตฺราส : ป. ความสะดุ้งแห่งจิต, ความหวาดกลัว
ชราภย : นป. ความกลัวแต่ความชราหรือความเสื่อมโทรม
ชาติภย : นป. ความกลัวต่อการเกิด, ความกลัวการเกิด
ทณฺฑภย : นป. ภัยคืออาชญา, ความกลัวแต่การลงโทษ, การกลัวถูกลงโทษ
ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ
(๑) สิงฺคาร ความรัก
(๒) กรุณา ความเอ็นดู
(๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ
(๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์
(๕) หสฺส ความร่าเริง
(๖) ภย ความกลัว
(๗) สนฺต ความสงบ
(๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง
(๙) รุทฺธ ความโกรธ
นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ
นิรยภย : นป. ภัยแต่นรก, ความกลัวแต่นรก
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
ปาปภีรุตา : อิต. ความสะดุ้งกลัวต่อบาป
ภยงฺกร ภยานก : (นปุ.) สิ่งอันน่าสพึงกลัว. ความขลาด, ฯลฯ.
ภยาคติ : (อิต.) ความลำเอียงอันเกิดจากความกลัว, ความลำเอียงเพราะความกลัว.
ภยูปรต : (วิ.) ผู้มีความกลัวยังไม่สิ้น, ผู้ยังมีความกลัว. ภย+อุปรต.
ภายน : (นปุ.) ความสะดุ้ง, ควาหวาด, ความกลัว. ภี ภเย, ยุ.
ภิติ ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ติ ปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ อี เป็น อิ. ดู ภึสน.
ภีติ : อิต. ความกลัว
ภี ภีติ : (อิต.) ความกลัว, ความขลาด, ความสะดุ้ง, ความสะดุ้งจิต. ภี ภเย, อ, ติ.
ภีรตา : (อิต.) ความกลัว, ฯลฯ. ตา ปัจ. สกัด.
ภึสน : (นปุ.) ความกลัว, ฯลฯ.
เภสม เภสฺม : (นปุ.) ความพึงกลัว, ความน่าสพึงกลัว. ภี ภเย, สฺมปจฺจโย. ศัพท์ต้นลง อ ปัจ. ประจำธาตุ.
มรณภย : (นปุ.) ความกลัวต่อความตาย, ความกลัวแต่ความตาย, ความกลัวอันเกิดแล้วแต่ความตาย, ความกลัวต่อมรณะ, ความกลัวแต่มรณะ, ภัยต่อมรณะ, ภัยแต่มรณะ, ภัยคือมรณะ.
มหพฺภย : ค. มีความกลัวมาก, น่ากลัวมาก
มุขร : (วิ.) ปากกล้า, พูดไม่เกรงกลัวใคร.
สนฺตาส : ป. ความสะดุ้ง, ความหวาดกลัว
อนุตฺตราสีอนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อนุตฺตราสี อนุตฺราสี : (วิ.) มีความสะดุ้งหามิได้, ไม่มีความสะดุ้ง, ไม่มีความหวาดเสียว, ไม่ สะดุ้ง, ไม่กลัว, ไม่หวาด, ไม่หวาดเสียว.
อโนตฺตปฺปี : ค. ผู้ไม่เกรงกลัวต่อบาป
อภยูปรต : (ปุ.) พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่เข้าไปย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้อันความกลัวไม่ย้อมแล้ว, พระขีณาสพผู้มีความกลัวอันสิ้นแล้ว.ดูภยูดปรตด้วย.
อภิรุ : (วิ.) ไม่มีความขลาด, ไม่ขลาด, ไม่กลัว.
อาตงฺค : (นปุ.) ความกลัว, ความหวาด, ความสะดุ้ง.อาปุพฺโพ, ตสฺอุตฺราเส, อ.แปลง สเป็นคนิคคหิตอาคม.
อุตฺตปติ : ก. สะดุ้งกลัวต่อบาป, กลัวความผิด
อุตฺรสติ อุตฺตรสติ อุตฺตรสฺติ : (อิต.) ความหวาด, ความหวาดเสียว, ความสะดุ้ง, ความตกใจ, ความกลัว. อุปุพฺโพ, ตฺรสฺ อุพฺเพเค, ติ.
อุพฺพิชฺชนา : อิต. ความยุ่งยากใจ, ความหวาดเสียว, ความกลัว
อุพฺเพคี : ค. มีความกลัว; มีความหวาดเสียว
โอตฺตปฺปติ : ก. เกรงกลัวต่อบาป, สะดุ้งต่อบาป
โอตฺตปฺปี, - ตาปี : ค. มีความกลัวต่อบาป, มีความสะดุ้งต่อบาป