Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเดือดร้อน, เดือด, ร้อน, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเดือดร้อน, 3775 found, display 1-50
  1. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  2. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  3. ฑาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ไฟ, ไข้พิษ, โรคพิษ, ฯลฯ. ฑหฺ+ณ ปัจ.
  4. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  5. ปริตาป ปริตฺตาป : (ปุ.) ความร้อนใจ, ความร้อนใน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกระหาย, ปริ ปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โณ.
  6. อนุฏฺฐุภ : (นปุ.) ความเดือดร้อนภายหลัง, ความเดือดร้อนในภายหลัง, ความเดือดร้อน, ความรำคาญ.
  7. อนุตาป : ป. ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความรำคาญใจ
  8. ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
  9. วิปฺปฏิสาร : ป. ความเดือดร้อน, ความร้อนใจ; การระลึกถึงผิด
  10. ปกฺกฏฺฐิต : กิต. ร้อน, เดือด, ดุ
  11. กมฺมตปฺปน : นป. ความเดือดร้อนเพราะกรรม
  12. นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
  13. นิทฺทุกฺข : ค. ไม่มีความทุกข์, หมดความเดือดร้อน
  14. ปจฺฉานุตาป : ป. การตามเดือดร้อนในภายหลัง, ความสำนึกตัว
  15. พลิปีฬิต : ค. ถูกเบียดเบียนด้วยภาษี, มีความเดือดร้อนเพราะถูกเก็บภาษี
  16. อจฺจุณฺณ : ๑. ป. ความร้อนจัด ; ๒. ค. ร้อนจัด, เดือดพล่าน
  17. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  18. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  19. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  20. อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
  21. อปฺปาตงฺก : ค. มีความลำบากน้อย, ซึ่งเดือดร้อนนิดหน่อย
  22. อวิปฺปฏิสาร : ป. ความไม่วิปฏิสาร, ความไม่เดือดร้อน
  23. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  24. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  25. กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
  26. กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
  27. กุฏฐิต : ค. ร้อน, เดือดพล่าน, ละลาย
  28. ขิชฺชติ : ก. เดือดร้อน, ระทมทุกข์
  29. คิมฺหิก : ค. มีความร้อน, อันมีในฤดูร้อน, เนื่องด้วยความร้อน
  30. ฆมฺมาภิตตฺต : (วิ.) อันความร้อนแผดเผาแล้ว.
  31. ฆมฺมาภิภูต, - ภิตตฺต : ค. อันความร้อนแผดเผาแล้ว, ถูกแผดเผาแล้ว
  32. โชติปาสาณ : ป. หินที่ทำให้เกิดความร้อนหรือแสงสว่าง
  33. ฑห : (ปุ.) ความร้อน, โรคพิษ, โรคร้อน, โรค ร้อนใน. ฑหฺ ฑยฺหเน, อ.
  34. ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
  35. ตปฺปติ : ก. เผา, ไหม้, ส่องแสง, เดือดร้อน, ถูกทรมาน; อิ่มใจ, ยินดี
  36. ตาปน : (นปุ.) การทรมาน, ความทรมาน, ความร้อน, ฯลฯ. ตปฺ สนฺปาเต, ยุ. การทำให้ตกใจ,ความสะดุ้ง,ฯลฯ.ตปฺ อุพฺเพเค. การทำให้พอใจ. ความอิ่มใจ. ตปุ ปีณเน. ส. ตาปน.
  37. เตชวนฺตุ : ค. ผู้มีฤทธิ์, ผู้มีเดช, ก่อให้เกิดความร้อน, มีความร้อน
  38. ทวถุ : (ปุ.) ความร้อน, ความร้อนใน, ความกระหาย, ความกระหายน้ำ. ทวฺ ฑาเห, ทุ ปริตาเป วา, ถุ. รูปฯ ๖๔๕ วิ. ทเวน นิพฺพตฺโต ทวถุ ทวฺ ทวเน, ถุ. ส. ทวถุ.
  39. ทวน : (นปุ.) ความร้อน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
  40. ทหณ ทหน : (ปุ.) การเผา,ความร้อน,ไฟ.ทหฺภสฺมีกรเณ,อ,ยุ.ส.ทหน.
  41. ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.
  42. ทุกฺข : (วิ.) ยาก, ลำบาก, ชั่ว, เดือดร้อน, ไม่ สบาย, ทุกข์. ทุกฺข ตกฺกิริยายํ, อ.
  43. นิทาฆ : (ปุ.) ฤดูร้อน, ฤดูแล้ง, หน้าร้อน. วิ. นิทหนฺเต อสฺมินฺติ นิทาโฆ. ความร้อน, ความอบอ้าว, เหงื่อ. นิปุพฺโพ, หทฺ ภสฺมีกรเณ, โณ, หสฺส โฆ. ส. นิทาฆ.
  44. ปโกป : ป. ความโกรธเคือง, ความเดือดพล่าน, ความยุ่งยาก
  45. ปจฺจน : นป. การหุงต้ม, การเดือดร้อน
  46. ปจฺฉานุตปฺปติ : ก. เดือดร้อนในภายหลัง
  47. ปฑยฺหติ : ก. (อันเขา) แผดเผา, เดือดร้อน
  48. ปรนฺตป : ค. ผู้ทำคนอื่นให้เดือดร้อน
  49. ปริตปฺปติ : ก. เดือดร้อน, กังวลใจ, เสียใจ
  50. ปริตาป : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ให้เร่าร้อน, ให้เดือดร้อน.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3775

(0.1243 sec)