Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความเรียบง่าย, เรียบ, ง่าย, ความ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความเรียบง่าย, 3732 found, display 1-50
  1. อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
  2. โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
  3. นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
  4. สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
  5. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  6. โสวจสฺส : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลสอนได้โดยง่าย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ว่าง่าย, ความเป็นคนว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่าย, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. วิ. สุวจสฺส ภาโว โสวจสฺสํ. สุวจ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ ณฺ ลง สฺ อาคม แปลง ย เป็น ส หรือ แปลง สฺย เป็น สฺส ก็ได้.
  7. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  8. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อ ความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยาก ให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี). วิ. อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺฐกถา. อตฺถปุพฺ โพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  9. อฏฺฐกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องอัน....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวเนื้อความ, อรรถกถา (คำอธิบายบาลีพุทธพจน์ที่ยากให้ง่ายขึ้น คำอธิบายแก้อรรถบาลี).วิ.อตฺโถ กถิยเต เอตายาติ อฏฺกถา. อตฺถปุพฺโพ, กถ. กณน, อ, อิตฺถิยํ อา, ตฺถสฺส ฏฺโฐ
  10. อตฺถกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องอัน.....กล่าวซึ่งเนื้อความ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งเนื้อความคำอธิบายซึ่งเนื้อความ, ถ้อยคำแก้อรรถ, อรรถกถาชื่อคัมภีร์ที่ท่านแต่งแก้เนื้อความแห่งพระบาลีพุทธพจน์ที่เข้าใจยากให้ง่ายขึ้น
  11. อสงฺกุสกวตฺติ : อิต. ความประพฤติที่ไม่ขัดกัน, ความประพฤติที่สอดคล้องกัน, ความว่าง่ายสอนง่าย
  12. กุ : (วิ.) เล็ก, น้อย, นิดหน่อย, ง่าย, ชั่ว, เลว, เกลียด, น่าเกลียด.
  13. โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
  14. สม : (วิ.) คล้าย, เหมือน, เหมือนกัน, เช่นกัน, เช่นกับ, เรียบ, เสมอ, เสมอกัน, รวมกัน, ร่วมกัน, ครบ, พอดี, เหมาะ, ควร, ชอบ, สมฺ เวลมฺเพ อ. ส. สม.
  15. สินิทฺธ : (วิ.) สิเนหะ, รัก, รักใคร่, มีใจรักใคร่, ละเอียด, เรียบ, กลมเกลียว, เกลี้ยงเกลา, งดงาม, อ่อน, อ่อนโยน, อิ่มใจ, ชอบใจ, อาลัย, สินิท, สนิท, สนิธ. สินิหฺ ปิติยํ, โธ, หสฺส โท.
  16. สิลฏฺฐ : ค. เกลี้ยง, เรียบ, อ่อน
  17. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  18. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  19. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  20. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  21. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  22. สุข : (วิ.) สะดวก, สบาย, สำราญ, (สบายกายสบายใจ), เย็น (เย็นใจ), ง่าย.
  23. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  24. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  25. อีสก : (วิ.) น้อย, เล็กน้อย, น้อยหนึ่ง, หน่อย หนึ่ง, นิดหน่อย, สะดวก, ง่าย. ส. อีษตฺ.
  26. อีสก อีส : (อัพ. นิบาต) น้อย, ฯลฯ, ง่าย.
  27. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  28. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  29. กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  30. กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  31. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  32. กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
  33. กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
  34. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  35. กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
  36. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  37. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  38. กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
  39. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  40. กงฺขาวิตรณ : นป. การก้าวล่วงความสงสัย, การข้ามความสงสัยเสียได้
  41. กงฺขาวิตรณวิสุทฺธิ : (อิต.) ความหมดจดอัน ก้าวล่วงซึ่งความสงสัย, ความหมดจดแห่ง ญาณเป็นเครื่องข้ามพ้นความสงสัย.
  42. กฏฐ : ๑. นป. เศษไม้, ฟืน, ความลำบากกาย, ป่าทึบ, หมู่ไม้ ๒. เลว, ไร้ประโยชน์; ๓. กิต. ไถแล้ว
  43. กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน ๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
  44. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  45. กฏุกญฺจุกตา : อิต. ความขี้เหนียว, ความตระหนี่, ความเข้มงวด
  46. กฏุกตฺต : นป. ความแหลมคม, ความเผ็ดร้อน, ความขมขื่น
  47. กฏุกภาว : ป. ความขี้เหนียว
  48. กฏุมิกา : อิต. ความไม่จริง, ความไม่แท้
  49. กณฺฏก : (ปุ.) ข้าศึก, หนาม, เงี่ยง, ความชูชัน แห่งขน, ขนชูชัน, อวัยวะแห่งต้นไม้?
  50. กณฺฑุ กณฺฑุติ กณฺฑู กณฺฑูยา : (อิต.) ความคัน, โรคคัน, ต่อมเล็ก ๆ, ฝี, ลำลาบเพลิง หิด, หิดด้าน, หิดเปลื่อย. กณฺฑฺ เภทเน, อุ. ศัพท์ที่ ๒ ลง อ ปัจ. ประจำธาตุ แล้วเอา อ ที่ ฑ เป็น อุ ติ ปัจ. ศัพท์ที่ ๓ ลง อุ ปัจ. แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๔ ลง อ ปัจ. ประจำ ธาตุแล้วลง ณฺย ปัจ. เอา อ ที่ ฑ เป็น อู. ส. กณฺฑุ กณฺฑู กณฺฑูยา.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3732

(0.1281 sec)