ฑาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ไฟ, ไข้พิษ, โรคพิษ, ฯลฯ. ฑหฺ+ณ ปัจ.
ตปฺปน : (นปุ.) ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. ย ปัจ. ประ จำหมวดธาตุ ยุ ปัจ.
ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
ทร ทรถ : (ปุ.) ความกลัว, ความเจ็บป่วย, ความกระวนกระวาย, ความเร่าร้อน, ทรฺ ภยทาเหสุ, อ, โถ. ทรสทฺโท จ ทรถสทฺโท จ กายทรเถ จิตฺตทรเถ กิเลสทรเถ จ วตฺตนฺติ. อภิฯ.
ทาห : (ปุ.) ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความเผา, ความไหม้, ความแผดเผา, ความเบียดเบียน. ทหฺ ภสฺมีกรเณ, โณ. ส. ทาห.
นาธน : (นปุ.) การขอ, ความเร่าร้อน, ความเป็นใหญ่, ความหวัง. นาธฺ ยาจโนปตาปิ สฺสริยาสึสาสุ, ยุ.
ปริตาป ปริตฺตาป : (ปุ.) ความร้อนใจ, ความร้อนใน, ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกระหาย, ปริ ปุพฺโพ, ตปฺ สนฺตาเป, โณ.
ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
อาตกอาตงฺก : (ปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบายความรำคาญ, ความกังวล, ความห่วงใย, ความเร่าร้อน, ความดือดร้อน, โรค.วิ.อาภุโสตํกตีติอาตํโกอาตงฺโกวา.อาปุพฺโพกติกิจฺฉชีวเน, อ.ส.อาตงฺก.
อาตปตา : อิต. ความเป็นคืออันเร่าร้อน, ความเร่าร้อน
ปริฑยฺห : (ปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
ปริฑยฺหน : (นปุ.) ความเร่าร้อน. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, อ, ยุ. ลง ยฺ อาคมในท่ามกลางแปลง ท เป็น ฑ.
อุส : (ปุ.) ความเร่าร้อน. อุสฺ ทาเห, อ.
ทร, ทรถ : ป. ความเร่าร้อน, ความกระวนกระวาย, ความกังวลใจ, ความหวั่นกลัว, ความลำบาก, ความทุกข์
อนุตาป : ป. ความเร่าร้อน, ความเดือดร้อน, ความรำคาญใจ
กามปริฬาห : ป. ความเร่าร้อนเพราะกาม
กายฑาห : ป. ความเร่าร้อนแห่งกาย, ความไข้
กุจฺฉิฑาห, - ทาห : ป. ความเร่าร้อนในท้อง, การอักเสบในกระเพาะ
จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
ตป : (ปุ.) ความเพียร เครื่องเผากิเลส, คุณ ธรรมอันยังกิเลสให้ร้อน, คุณธรรมอันยัง กิเลสให้เร่าร้อน (แห้ง), ความร้อน, ความสำรวม, ความเพียร, ธรรม, วัตร, พรต (ธรรมมีศีลเป็นต้น ความบำเพ็ญพรตเผา กิเลส), ศีล, ตบะ. วิ. กิเลเส ตาเปตีติ ตโป. ตปฺ ทาเห สนฺตาเป วา, อ. ส. ตปสฺ.
ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
นิทฺทรถ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งความเร่าร้อน, ฯลฯ, วิ. ทรถานํ อภาโว นิทฺทรถํ.
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิพฺพาติ : ก. พัด, ทำให้เย็น, ทำให้หมดความเร่าร้อน, ดับกิเลส, ดับทุกข์
นิรุปตาป : ค. ซึ่งไม่มีความเร่าร้อน, ซึ่งไม่มีความกระวนกระวาย
ปทร ปทล : (วิ.) ทำลายซึ่งความเร่าร้อน, ทำลายซึ่งความกระวนกระวาย. ปสฺทโท ทรเถ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, อ.
พทร : (วิ.) ทำลายซึ่งความกระวนกระวายอันเป็นไปทั่วแล้ว, อันทำลายซึ่งความเร่าร้อนอันเป็นไปทั่วแล้ว. ปวตฺตปุพฺโพ, ทร วิทารเณ, อ, ลบ วตฺต แปลง ป เป็น พ.
อาตปฺป : (ปุ.) ความยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความเพียร, ความพยายาม. วิ.อาภุโสกายํจิตฺตญฺจตาเปตีติอาตปฺโป.อาปุพฺโพ, ตปฺสนฺตาเป, โณ, ทฺวิตฺตํ
อาตาป : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ความร้อน, ความยังกิเลสให้ร้อน, ความเพียรเผากิเลส, ความขยัน, ความเข้มแข็ง, ความเพียร. วิ.อาสมนฺตโตตาเปตีติอาตาโป.
อาตาปน : นป. ความเพียร, เครื่องเผากิเลสให้เร่าร้อน, การทรมานตัวเพื่อย่างกิเลส
อาตาปี : (วิ.) ผู้มีความเพียรเป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ฯลฯ, ผู้ยังกิเลสให้แห้ง (หมดไป).อี ปัจ.
อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
อภิตปติ, อภิตปฺปติ : ก. ไหม้, เผา, ส่องแสง, เร่าร้อน, เดือดร้อน
อาตปติ : ก. ส่องแสง, แผดเผา, เร่าร้อน
อุปทฺทวติ : ก. ลำบาก, เดือดร้อน, เร่าร้อน, รบกวน
นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
ปริตาป : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ให้เร่าร้อน, ให้เดือดร้อน.
อนุตปฺปติ : ก. เร่าร้อน, เดือดร้อน
อาตุร : (วิ.) เร่าร้อน, เดือดร้อน, ระส่าย, กระ-สับกระส่าย, เจ็บ, ทนทุกขเวทนา (ทั้งกายและใจ), มีโรค.ส.อาตุร.
ก : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง