Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ความแน่นอน, แน่นอน, ความ , then ความ, ความนนอน, ความแน่นอน, นนอน, แน่นอน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ความแน่นอน, 3720 found, display 1-50
  1. ฐิ ติ : (อิต.) การหยุด, การหยุดไว้, ฯลฯ, ความหยุด, ฯลฯ, ความอดทน, ความทนทาน, ความมั่นคง, ความแน่นอน, ความเป็นไป, ความมีชีวิตอยู่, ฐานะ, เหตุ, ข้อบังคับ, ข้อ บัญญัติ, ประธานกริยา. วิ. ฐานํ ฐิติ. ฐา+ ติ ปัจ. แปลง อา เป็น อิ.
  2. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  3. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  4. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  5. อปณฺณกตา : อิต. ความจริง, ความแน่นอน, ความชอบธรรม
  6. เอกสิกตา : อิต. ความเป็นอันใดอันหนึ่ง, ความแน่นอน
  7. นิจฺจสญฺญา : อิต. ความสำคัญหมายว่าเที่ยง, แน่นอน
  8. สสฺสต : (วิ.) เที่ยง, เที่ยงแท้, แน่นอน, มั่นคง, ยั่งยืน, คงที่, เป็นไปติดต่อ, เป็นอยู่ติดต่อ, เป็นไปทุกเมื่อ, เป็นไปเป็นนิตย์. สสฺสฺ สาตจฺเจ. อปัจ. ประจำหมวดธาตุ ต ปัจ. หรือตั้ง สทา+สรฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ. แปลง สทา เป็น ส ลบที่สุดธาตุซ้อน สฺ.
  9. ธมฺมนิยาม : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, ธรรมดา, ธรรมนิยาม คือพระไตรลักษณ์.
  10. ธมฺมนิยามตา : (ปุ.) ทำนองแห่งธรรม, ความแน่นอนแห่งธรรม, พระไตรลักษณ์. ตา ปัจ สกัด.
  11. นิจฺจสญฺญี : ค. มีความสำคัญหมายว่าเที่ยงหรือแน่นอน
  12. นิยาม : (ปุ.) การกำหนด, ความกำหนด, เหตุ เป็นเครื่องกำหนด, ทาง, หนทาง, มรรค, แบบ, อย่าง, วิธี, ทำนอง. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, โณ. ไทยใช้นิยามเป็นกิริยาใน ความหมายว่า กำหนดหรือจำกัดความหมายที่แน่นอน หรือให้ความหมายอย่าง กะทัดรัด.
  13. ปริคฺคณฺห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา วิ. ปริฉินฺทิตฺวา คหณํ ปริคฺคโณฺห. การถือเอาโดยรอบ, การรับเอา, การรวบรวม, การสะสม, การยึดถือ, การหวงแหน, ความถือ เอาโดยรอบ, ฯลฯ, คำที่แน่นอน, เรือน. ปริ+คหฺ+ณฺหา และ อ ปัจ. ลบ ที่สุดธาตุ ซ้อน คฺ.
  14. อนิจฺจ : (วิ.) มีความเที่ยงหามิได้, มีความมั่นคงหามิได้, มีความแน่นอนหามิได้, มีความยั่งยืนหามิได้, ไม่มีความเที่ยง, ฯลฯ, ไม่เที่ยงฯลฯ.ส.อนิตฺย.
  15. อนิยต : (วิ.) ไม่มีความเที่ยง, ไม่มีความแน่นอน, ไม่เที่ยง, ไม่แน่นอน.ส.อนิยต.
  16. อนิยม : (วิ.) มิใช่ความกำหนด, มิใช่ความแน่นอน, มิใช่ความชอบ, อนิยม (ไม่ต้องด้วยกฎหรือแบบแผน นอกแบบ).ส.อนิยม.
  17. อเนกสิกตา : อิต. ความไม่แน่นอน, ความข้องใจ
  18. กูฏฏฐ : ค. สม่ำเสมอ, เนืองนิจ, แน่นอน, ถาวร, มั่นคง, ไม่หวั่นไหว, ตั้งตรง
  19. ฆน : (วิ.) ไม่ขาด, หนา, ชิด, หยาบ, แข็ง, ตัน, ทึบ, แท่งทึบ, แน่นอน, ปึก, แผ่น, ล่ำ, เป็นก้อน, เป็นกลุ่ม, เป็นกลุ่มเป็นก้อน, หมด, สิ้น. หนฺ พนฺธเน, อ, หสฺส, โฆ.
  20. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  21. ธุว : (วิ.) เที่ยง, คงที่, มั่นคง ประจำ, ยืนที่, ยั่งยืน, แน่วแน่, แน่นอน, เนือง, เนืองๆ, บ่อย, ทุกเมื่อ, เป็นนิตย์. ธุ คติเถริเยสุ, อ, ธุวาเทโส. ส. ธฺรุว.
  22. ปจฺจกฺข : ค. ประจักษ์, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน
  23. อล (หล) : ๑. อ. พอ, เพียงพอ, หยุด, อย่าเลย ; ๒. ค. สามารถ, ควร, แน่นอน, เหลือคณนา, นับไม่ได้
  24. อวสฺสก : ก. วิ. อย่างแน่แท้, แน่นอน
  25. อาทุ : อ. หรือ, หรือว่า, แต่, แน่นอน
  26. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  27. นินฺนาท : (ปุ.) การกึกก้อง,การบันลือ,ความ กึกก้อง, ความบันลือ, ความเกรียวกราว, เสียงกึกก้อง, เสียงบันลือ, เสียงสะท้าน, เสียงเกรียวกราว, นินาท, นฤนาท. วิ. ปุนปฺนปุนํ นาโท นินฺนาโท แปลง น เป็น นฺน แปลง อ ที่น ตัวต้นเป็น อิ ลงนิคคหิต อาคม แล้วแปลงเป็น นฺ.
  28. มิจฺฉาวิตกฺก : (ปุ.) ความดำริผิด, ความตรึกผิด, ความ คิดผิดจากคำสอนของศาสนา.
  29. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  30. ยุตฺติธมฺม : (ปุ.) ธรรมคือความถูกต้อง, ความเที่ยงธรรม, ความชอบธรรม, ความ ชอบด้วยเหตุผล.
  31. กุทสฺสุ : อ. เมื่อไร? แน่แท้ แน่นอน
  32. คาฬฺห : (วิ.) มั่น, แน่น, แน่นอน. คหฺ อุปา ทาเน, โต. กัจฯ ๕๘๔ แปลง ต เป็น ห แปลงที่ สุดธาตุเป็น ฬ. บาลีไวยากรณ์แปลง ต เป็น ฬฺห ลบที่สุดธาตุ.
  33. อฏฺฏ : (ปุ.) ความบีบคั้น, ความเบียดเบียน, ความวิบัติ, อันตราย, ความลำบาก, ความ(เรื่อง เนื้อเรื่อง อาการ คดีที่ฟ้องร้องกันในโรงศาล), คดี, คดีความ, อรรถคดี, ร้าน, ป้อม, หหอรบ, แม่แคร่, ยุติ.อฏฺฏฺอติกฺกมหึสาสุ, อ. ส. อฎฺฎ.
  34. อสสย : (วิ.) ไม่สงสัย, เที่ยงแท้, แน่นอน.
  35. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  36. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  37. เอกนฺต : ก. วิ. แน่นอน, อย่างแน่นอน
  38. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  39. กกฺกรตา : อิต. ความกระด้าง, ความหยาบคาย, ความขรุขระ
  40. กกฺกริย : นป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  41. กกฺกสฺส : ป. ความหยาบคาย, ความกระด้าง
  42. กกฺกาเรติ : ก. ทำเสียงกักๆ , แสดงความสะอิดเอียน
  43. กกฺขฬตฺต : นป. ความหยาบ, ความกระด้าง
  44. กกฺขฬิย : นป. ความแข็ง, ความหยาบ, ความเข้มงวด
  45. กกุธภณฺฑ : (นปุ.) กกุธภัณฑ์ ชื่อของใช้อัน เป็นเครื่องหมายแห่งความเป็นพระราชามี ๕ อย่างคือ มหาพิชัยมงกุฎ ๑ พระแสง ขรรค์ชัยศรี ๑ ธารพระกร ๑ วาลวีชนี ๑ ฉลองพระบาท ๑.
  46. กข กงฺข : (นปุ.) ความแคลง, ฯลฯ.
  47. กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
  48. กงฺขน : นป. ความสงสัย,ความลังเลใจ
  49. กงฺขนา : อิต. ความสงสัย,ความไม่แน่ใจ
  50. กงฺขาธมฺม : ป. สภาวะคือความสงสัยแห่งใจ
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3720

(0.1746 sec)