กามตา : อิต. ความอยาก, ความใคร่
นิกนฺติ : (อิต.) ความอยาก, ความอยากได้, ความโลภ, ความปรารถนา, ความชอบใจ, ความรัก, ความยินดี, ความใคร่, ตัณหา. กมุ อิจฺฉายํ, ติ. แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่สุด ธาตุ.
ร : (ปุ.) ความปรารถนา, ความรัก, ความใคร่, ไฟ.
อิจฺฉ : (นปุ.) ความปรารถนา, ความยินดี, ความเพลิดเพลิน, ความอยาก, ความอยากได้, ความใคร่, ความหวัง, ความต้องการ, ความใส่ใจ. อิสุ อิจฺฉายํ, อ, สุสฺส จฺโฉ (แปลง สุ เป็น จฺฉฺ).
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
ปริยตฺต : นป. ความใคร่
นิกาม : นป. ความใคร่, ความอยากได้, ความมักมาก
กตฺตุกมฺยตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
กตฺตุกามตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
กาตุกามตา, กาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อทำ, ความประสงค์จะทำ
กามก : ค. ผู้มีความใคร่, ผู้มีความอยาก
กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
กามฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกาม, ความพอใจในกามทั้ง ๕.
กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
กามตฺถกาม : ค. ผู้ปรารถนาความดีงาม, ผู้ใคร่เพื่อประโยชน์แก่กาม
กามนิกฺกาม : ค. ผู้ไม่มีความใคร่ในกาม, ผู้เบื่อกาม
กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
กามรส : ป. กามรส, รสแห่งความใคร่
กามเหตุ : ค. มีความใคร่เป็นเหตุ
กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
กามาภิภู : ค. ผู้ครอบงำความใคร่, ผู้ชนะกาม
เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
ฉนฺทช : ค. เกิดความพอใจ, เกิดความรักใคร่หรือปรารถนา
ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่
ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
ทวกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่ในการเล่น, ความอยาก, ความขี้เล่น, ความชอบตลก, ความชอบเล่นสนุก
ทสฺสนกาม : ค. ผู้มีความใคร่ในการเห็น, ผู้อยากเห็น
ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
นิกฺกาม, - มี : ค. ปราศจากกาม, ไม่มีความใคร่, หมดความอยาก
นิกฺกามี : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว, ฯลฯ.
นิกามลาภี : ค. ผู้ได้ตามความใคร่, ผู้ได้โดยง่าย, ผู้ได้มาโดยไม่ลำบาก
นิพฺพนถ :
ค. ซึ่งปราศจากความมักมาก, ซึ่งหมดความอยากได้, อันไม่มีความรักใคร่, (ดู นิพฺพน ด้วย)
นิรุปธิ : ค. ปราศจากอุปธิ, ไม่มีกิเลสหรือความใคร่, หมดความอยาก
ปฏิพทฺธจิตฺต : ค. มีจิตปฏิพัทธ์, มีใจผูกพัน; มีความรักใคร่เกิดขึ้น
ปณย : ป. ความรักใคร่, ความไว้วางใจ, ความวิงวอน
ปาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่หรือปรารถนาเพื่อจะดื่ม
ปิยกมฺยตา : อิต. ความใคร่หรือความเป็นผู้ใคร่ในสิ่งอันน่ารักน่าพอใจ
ปิยายน : นป., - นา อิต. ความรักใคร่, ความพอใจ
รูปตณฺหา : อิต. ความอยากหรือความใคร่ในรูป
สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
สาธุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ความดี, ความใคร่ความดี.
สิเนห : (ปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
สิเนหน : (นปุ.) ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความพอใจ, ความเยื่อใย, ความอาลัย, ความติดพัน, ยาง(ยางของความรักไม่ใช้ยางต้นไม้), ใยยาง, น้ำมัน, น้ำมันเหนียว, ความเสน่หา, ความประติพัทธ์. สินิหฺ ปีติยํ, โณ, ยุ.
สุธารส : (ปุ.) รสทิพย์, น้ำใจ, ความใคร่?. สุธารส ราชาศัพท์ว่า น้ำชา.