อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง;
๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
อาจาร : (ปุ.) มรรยาทอันบุคคลพึงประพฤติโดยเอื้อเฟื้อ, ความประพฤติ, ความประพฤติที่ดี, ความประพฤติไม่ล่วงละเมิดทางกายและทางวาจา, สีลสังวร, มารยาท, มรรยาท, มรรยาทอันดี, จรรยา, ขนบ, ธรรมเนียม, ระเบียบ, แบบแผน.ไตร.๓๕/๖๐๔.ส. อาจาร.
นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
กามนิกฺกาม : ค. ผู้ไม่มีความใคร่ในกาม, ผู้เบื่อกาม
กามากาม : ค. ไม่มีความปรารถนาทางกาม
กิจฺจลกฺขณ : (นปุ.) ลักษณะอัน...พึงทำ, การกำหนดสิ่งที่พึงทำ, กิจจลักษณะ, กิจลักษณะ. ไทยใช้กิจจลักษณะเป็นวิเศษ ในความหมายว่า เป็นการเป็นงานเป็น เรื่องเป็นราว เป็นระเบียบเรียบร้อย.
กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ชวจฺฉินฺน : ค. ผู้มีเชาวน์อันขาดแล้ว, ผู้ไม่มีความว่องไว, ผู้ขาดความว่องไว
ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
ทุพฺภิกฺขพย : (นปุ.) ภัยคือภิกษาอัน...ได้โดย ยาก, ภัยอันเกิดแต่ภิกษาอัน...ได้โดยยาก, ภัยคือความไม่มีแห่งอาหาร, ภัยคือความขัดสนอาหาร, ทุพภิกขภัย.
ทุพฺภิกฺขุ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งอาหาร, ความขัดสนอาหาร, ข้าวแพง, อาหารแพง, ข้าวยากหมากแพง. วิ. ภิกฺขสฺส อภาโว ทุพฺภิกฺขํ กลับบทหน้าไว้หลัง. เวสฯ ๑๙๘. ส. ทุรฺภิกฺษ.
ทุมฺมงฺกุ : (วิ.) เก้อยาก, ละอายยาก, ไม่มีความละอาย. ทุ+มงฺกุ.
นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
นตฺถิกทิฏฺฐิ : อิต. ความคิดเห็นว่าไม่มีหรือขาดสูญ
นตฺถิตา : อิต. ความเป็นคืออันไม่มี, ความไม่มี, ความไม่ปรากฏ
นตฺถิภาว : (ปุ.) ความที่แห่ง... ไม่มีอยู่, ภาวะ แห่ง...ไม่มีอยู่, ความไม่มี.
นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
นิกฺกงฺข : ค. ไม่มีความสงสัย, หมดความสงสัย, ไว้ใจได้
นิกฺกงฺขา : อิต. การไม่มีความสงสัย
นิกฺกรุณ : ค. ปราศจากความกรุณา, ไม่มีความเอ็นดู
นิกฺกรุณตา : อิต. ความเป็นผู้ปราศจากความกรุณา, ความไม่มีความเอ็นดู
นิกฺกาม, - มี : ค. ปราศจากกาม, ไม่มีความใคร่, หมดความอยาก
นิกฺโกธ : ค. ผู้ไม่มีความโกรธ
นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
นิจฺจิตฺตก : ค. ผู้ไม่มีความนึกคิด, ผู้ปราศจากจิตคิดถึง, ผู้ไม่ทันคิด
นิจฺฉนฺท : ค. ผู้ปราศจากความพอใจ, ผู้ไม่มีความพอใจ
นิตฺตณฺห : ค. ไม่มีความอยาก, ปราศจากตัณหา, หมดความทะยานอยาก
นิทฺทร : ค. ไม่มีความกระวนกระวาย, ไม่เดือดร้อน, ไม่มีความทุกข์, ปราศจากความกลัว
นิทฺทรถ : (นปุ.) ความไม่มีแห่งความเร่าร้อน, ฯลฯ, วิ. ทรถานํ อภาโว นิทฺทรถํ.
นิทฺทร นิทฺทรถ : (วิ.) มีความเร่าร้อยออกแล้ว, ไม่มีความเร้าร้อย, หมดความเร่าร้อน, มี ความกระวนกระวายออกแล้ว, ฯลฯ, หมด ความเจ็บไข้, หมดความป่วยไข้, หมด ความกลัว.
นิทฺทุกฺข : ค. ไม่มีความทุกข์, หมดความเดือดร้อน
นิธน : (วิ.) มีความดีออกแล้ว, มีสิริออกแล้ว, ไม่มีความดี, ไม่มีสิริ. นิปุพฺโพ, ธนฺ ธญเญ, อ.
นินฺนิมิตฺต : (นปุ.) นินนิมิต (ไม่มีนิมิต) คือ ความประพฤติตามอำเภอใจ (ยทิจฺฉา).
นิปฺปปญฺจ : ค. ซึ่งไม่มีความยุ่งยากหรือความเนิ่นช้า, ซึ่งปราศจากกิเลสเครื่องเนิ่นช้า
นิปฺปาป : ค. ซึ่งไม่มีบาป, หมดความชั่ว
นิปฺปิปาส : ค. ซึ่งไม่มีความกระหายหรือความอยากได้
นิปฺปีติก : ค. ซึ่งไม่มีบิดา, ซึ่งไม่มีปีติความยินดี
นิพฺพนถ :
ค. ซึ่งปราศจากความมักมาก, ซึ่งหมดความอยากได้, อันไม่มีความรักใคร่, (ดู นิพฺพน ด้วย)
นิพฺพิสงฺก : ค. ซึ่งหมดความระแวง, ไม่มีความสงสัย, ปราศจากความแคลงใจ; ซึ่งกล้าหาญ, ไม่กลัวเกรง
นิพฺภย : ค. ซึ่งไม่มีภัย, อันไม่มีความกลัว; กล้าหาญ