Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คะ , then , คะ, คา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คะ, 4583 found, display 1-50
  1. : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, นำไป. คมฺ คติยํ, กฺวิ, โร วา.
  2. คา : (อิต.) แผ่นดิน, โลก.
  3. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  4. จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
  5. คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
  6. ภวคฺค : (ปุ.) ภวัคคะ ชื่อภพของพรหม ชื่อพรหมผู้เกิดในชั้นภวัคคะ, ภวัคคพรหม.
  7. กาลิงฺค : (ปุ.) กาลิงคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. กลฺ สทฺเท, อิงฺโค.
  8. ฌสางฺค : (ปุ.) ฌสางคะ ชื่อของพระอนิรุทธ์ ลูก ของพระพรหม.
  9. อาลิงฺค : (ปุ. นปุ.) อาลิงคะ ชื่อกลองพิเศษ.
  10. ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
  11. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  12. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  13. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  14. ปุริสเมธ : (ปุ.) ปุริสเมธะ ชื่อมหายาคะ (การบูชาใหญ่ การบวงสรวงใหญ่ยัญใหญ่), มหายัญชื่อปุริสเมธะ.
  15. ภคฺค : (ปุ.) ภัคคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๑ ของอินเดียโบราณ, ภญฺช อวมทฺทเน, อ. แปลง ญฺช เป็น คฺค.
  16. โมกฺขจิกา : (อิต.) การเล่นหกคะเมน.
  17. สมฺมาปาส : (ปุ.) สัมมาปาส ชื่อ มหายาคะ อย่างที่ ๔ ใน ๕ อย่าง. ตีณิ วสฺสานิ วินา วฑฺฒิยาสหสฺสทฺวิสหสฺสมตฺตธนานุปฺปทานํ สมฺมาปาโส นาม.
  18. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  19. องฺค : (ปุ.) อังคะ ชื่อชนบท ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ ใช้เป็นพหุ. เสมอ เมืองหลวงชื่อจัมปา, คม (คมดาบ). อคิ คมเน, อ.
  20. องฺคช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในอังคชนบท, ชนผู้อยู่ในอังคะ, ลูกชาย (ผู้เกิดจากสรีระ)
  21. อสฺสเมธ : (ปุ.) อัสสเมธะชื่อมหายาคะอย่าง๑ใน๕อย่าง.วิ. อสฺสํเอตฺถเมธนฺตีติอสฺสเมโธ. อสฺสปุพฺโพ, เมธฺหึสายํ, อ.
  22. กากณิกคฺฆนก : ค. มีราคากากณิกหนึ่ง
  23. ฉตฺตหตฺถ : ค. ดู ฉตฺตคาหก
  24. อาปกา, - คา : อิต. แม่น้ำ
  25. คคนคามี : ค. ผู้ไปในท้องฟ้า (นก)
  26. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  27. คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
  28. คาหก : ค. ผู้ยึด, ผู้ถือ, ผู้แบกหาม
  29. คยากสฺสป : (ปุ.) คยากัสสป ชื่อชฎิลคนสุดท้อง ของชฎิลสามพี่น้อง.
  30. คลนฺตฏฺฐิ : (นปุ.) การออกเสียง, การปรากฏ. คุ สทฺเท อุคฺคเม จ, โณ.
  31. ควกฺข : (ปุ.) หน้าต่าง, ช่องลม. วิ. ควํ อกฺขิ ควกฺโข. เอา อิ ที่สุดสมาสเป็น อ (สมา- สนฺตตฺตา อ).
  32. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  33. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  34. คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
  35. คาเหติ : ก. ดู คาหาเปติ
  36. คคนมฺพร : (นปุ.) ฟ้า, ท้องฟ้า. คคน+อมฺพร.
  37. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  38. คเณรุ : อิต. หญิงงามเมือง, หญิงแพศยา; ช้างพัง
  39. คทิต : (นปุ.) ถ้อยคำ. คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โต, อิอาคโม.
  40. คเทร : (ปุ.) เมฆ (มีเสียงกระหึ่ม). คทฺ เทวสทฺเท, อิโร. ส. คทามฺพร.
  41. คเมติ : ก. ส่งไป, ให้ไป, เข้าใจ ; รอ
  42. คลนฺตฏฐิ : นป. ไหปลาร้า
  43. คลนาฬิ : อิต. ก้านคอ, หลอดเสียง
  44. คลมูล : นป. โคนคอ, กกคอ
  45. คาถก : นป. คำอันเป็นคาถา
  46. คาถาทฺวย : นป. หมวดสองแห่งคาถา, คาถาสองคาถา
  47. คาถาปท : นป. บาทคาถา, คาถาบาทหนึ่ง
  48. คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  49. คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
  50. คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4400 | 4401-4450 | 4451-4500 | 4501-4550 | 4551-4583

(0.1348 sec)