กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
ธมฺมวิจย : (วิ.) ผู้เลือกเฟ้นวึ่งธรรม, ผู้ค้นคว้าซึ่งธรรม, ผู้คัดเลือกซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ผู้เลือกเฟ้นซึ่งธรรมอันเป็นไปภายในและภายนอกอันเป็นภูมิของวิปัสสนา วิง วิปสฺสนาย ภูมิภุเต อชฺฌตฺตพิหิทฮชฺธา ธมฺมเม วิจินาตีติ ธมฺมวิจโย. ธมฺม+วิ+จิ+อปัจง แปลง อิ เป็น เอ เอ เป็น อย. รูปฯ ๕๕๒
ธมฺมสคีติ ธมฺมสงฺคีติ : (อิต.) การร้อยกรองซึ่งธรรม, การสังคายนาซึ่งธรรม, การ ร้อยกรองธรรม, การสังคายนามธรรม (คือการชำระพระธรรมวินัย คัดเอาคำที่ถูกต้องไว้).
มาคธี : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, โยถิกา (คัดเค้าเข็ม), ดีปลี. วิ. มคเธ ภวา มาคธี. ณี ปัจ.
ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
อุจฺจินาติ : ก. เลือก, คัดเลือก, แสวงหา
อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
อนุชุ, อนุชฺชุ : ค. ไม่ตรง, คด, งอ, โกง
อาฬาร : ค. หนา, กว้าง, โอฬาร, คด, งอ
วกฺก : ๑. นป. ม้าม, ตับ;
๒. ค. คด
อทฺทาร : (วิ.) คด.อาปุพฺโพ, ทา กุจฺฉิตคมเน, โร, รสฺโส, ทฺสํโยโค.
กปฏ : (ปุ.) ความคด, ความโกง, ความทรยศ, กบฏ ขบถ คือ การประทุษร้ายต่อราชอา- ณาจักร. วิ. กุจฺฉิเตน อากาเรน ปฏตีติ กปโฏ. ปฏฺ คติยํ, อ. แปลง กุ เป็น ก หรือแปลง กุ เป็น กา แล้วรัสสะตามนัย อภิฯ ส. กปฏ.
กายวงฺก : ป. ความคดแห่งกาย, ความประพฤติที่ไม่ซื่อตรงทางกาย, กายทุจริต
กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
กุฏิลตา : อิต. ความคด, ความโกง
กุณฺเฐติ : ก. ทำให้งอ, ทำให้คด, ทำให้เป็นง่อย
กุณฺฑิก : ค. ผู้ดัด, ผู้ฝึกให้คดหรือให้โค้ง (ในคำว่า อหิกุณฺฑิก หมองู)
โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
โคปานสีวงฺก : ค. คดหรืองอเหมือนไม้กลอนหรือจันทัน
จริมฺห : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.
ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
ชิมฺหค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปคด, งู. ชิมฺหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, กฺวิ.
ชิมฺเหยฺย : นป. ความคด, ความหลอกลวง, ความฉ้อโกง
นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
นิพฺพงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, ซึ่งไม่งอ, ซึ่งไม่โค้ง, ตรง
ปฏิกุณิก : ค. คด, งอ, โกง
วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง;
๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
วงฺกตา : อิต. ความงอ, ความคด
สปฺป : (ปุ.) สัตว์เสือกคลาน, งู. วิ. ภูมิผุฎฺเฐน คตฺเตน สคติ สปฺปนํ ยสฺส โส สปฺโป. สปฺปตีติ วา สปฺโป. สํสปฺปนฺโต คจฺฉตีติ อตฺโถ. สปฺปฺ คติยํ, อ.
สวงฺก : ค. มีโค้ง, มีคด
โสพฺภ : (นปุ.) รู, ช่อง โพรง. วิ. สุฎฺฐุ อพฺภ มากาส มสฺมินฺติ โสพฺภํ. สีทนฺติ เอตฺถาติ วา โสพฺภํ. สิทฺ คตฺวสาเน, โภ, อิสฺโส, ทสฺส โพ.
หุจฺฉน : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ. หุจฺฉโกฎิลฺเล, ยุ.
อกติ : ก. คด, งอ, บิดไปบิดมา
อค : (ปุ.) สัตว์ผู้ไปคด, งู.อคฺ กุฏิคติยํ, อ. ส.อค.
อชิมฺห : (วิ.) ซื่อ, ตรง, ซื่อตรง, ไม่คด, ไม่โค้ง.น+ชิมฺห.
อติวงฺกินี : ค. คดมาก, งอมาก
อวงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, อันไม่งอ
อฬาร : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.วิ.อลตีติอฬารํ.อลฺพนฺธเน, อโร.แปลงลเป็นฬ
โอโภค : (ปุ.) ขนด, การม้วน, การคด, การโค้ง, ความคด, ความโค้ง, โอปุพฺโพ, ภุชฺ โกฏิลฺเล, อ, โณ วา.