Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คั่ง , then คง, คั่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คั่ง, 27 found, display 1-27
  1. ปากุล : ค. อากูล, คั่งค้าง, ไม่สำเร็จ, ยุ่งเหยิง
  2. อนากุล : ค. ไม่อากูล, ไม่คั่งค้าง
  3. อากุล : (วิ.) วุ่นวาย, สับสน, ยุ่งเหยิง, คั่งค้าง, อากูล.อาปุพฺโพ, กุลฺ พนฺธุมฺหิ, อ.ส. อากุล
  4. ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
  5. ถาน : (วิ.) หยุด, หยุดอยู่, ยืน, ยืนอยู่, ตั้ง, ตั้งอยู่, ดำรง, ดำรงอยู่, คง, คงอยู่.
  6. เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
  7. เถร : (วิ.) แก่, เฒ่า, มั่น, คง, มั่นคง, ใหญ่, อ้วน.
  8. ทฬฺหี : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง.
  9. ปาริวฏฺฏก : คง เปลี่ยนแปลง, หมุนรอบ, แลกเปลี่ยน
  10. นกฺก : (ปุ.) จระเข้ วิ. น กมตีติ นกฺโก. นปุพโพ กมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบที่สุดธาตุ ซ้อน กฺ คง น ไว้ไม่แปลง หรือตั้ง นกฺกฺ นาสเน, อ. ส. นกฺร.
  11. พฺยตฺติ : (อิต.) ความฉลาด, ฯลฯ, ความจัดเจน, ความจัดจ้าน, ความประจักษ์แจ้ง, ความปรากฏ. วิปุพฺโพ, อทฺ คติยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ หรือ คง ติ ไว้แปลง ทฺ เป็น ตฺ ก็ได้.
  12. เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
  13. เสณิ : (ปุ.) หมู่คนมีศิลปะมีชาดเสมอกัน วิ. สชาตีนํ เตสํ สิปฺปีนํ สํฆาโต เสณิ. สิ เสวายํ, ณิ. คง ณ ไว้.
  14. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  15. จกฺกวาล จกฺกวาฬ : (ปุ.) ปริมณฑล, จักรวาล, จักรวาฬ. ปัจจุบัน ไทยใช้แต่คำจักรวาล น่าจะคงคำจักรวาฬไว้ด้วย.
  16. ปุราณ : (วิ.) เก่า, ก่อน, ชั่วก่อน (สมัยก่อน), ชั่วเพรง (ครั้งก่อน), มีอยู่ก่อน, มีในก่อน, เป็นอยู่ก่อน, ร้าง, บุราณ, เบาราณ. วิ. ปุรา ภโว ปุราโณ. น ปัจ. แปลงเป็น ณ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๒ ลง ณ ปัจ. คงไว้.
  17. ปุเรกฺขาร : (ปุ.) อันกระทำในเบื้องหน้า, การกระทำในเบื้องหน้า, การห้อมล้อม, ความนับถือ. ปุร+กรฺ+ณ ปัจฺ แปลง กรฺ เป็น ขรฺ ทีฆะ ลบ ณฺ คงวิภัติของบทหน้าไว้ ซ้อน กฺ รูปฯ ๕๖๖. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๑๒๔ ตั้ง ปุรา+กรฺ+ร ปัจจฺ เอา อา แห่ง ปุรา เป็น เอ.
  18. พฺยตฺตตา : อิต. ความเป็นผู้ฉลาด, ผู้คงแก่เรียน
  19. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  20. พหุสุต : (วิ.) ผู้ฟังมาก, ผู้สดับมาก, ผู้เรียนมาก, ผู้มีสุตะมาก, ผู้คงแก่เรียน. วิ. พหุสุตํ ยสฺส โส พหุสุโต.
  21. พหุสุต, พหุสุตก, พหุสฺสุต, พหุสฺสุตก : ค. พหูสูต, ผู้มีความรู้มาก, ผู้คงแก่เรียน, ผู้ได้ยินได้ฟังมาก, นักปราชญ์
  22. พาณี : (ปุ.) คนพูดเสมอ, คนพูดเก่ง, คนช่างพูด. วา สทฺเท, ณี ปัจ. คงไว้ไม่ลบ ณฺ.
  23. หณุ หนุ หนุกา : (อิต.) คาง. วิ. หนฺติ โอทนาทีสุ วณฺณวิเสสํ นาเสตีติ หณฺ หนุ วา. โภชนํ หนติ เอเตนาติ หณุ หนุ วา. หนฺ หึสายํ, อุ. อภิฯ. รูปฯ ๖๖๕ ลง ณุ, นุ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ต้นคง ณุ ไว้ ศัพท์ที่ ๓ ลง ก สกัด อา อิต. ส. หนุ.
  24. อติริจฺจติ : ก. เหลืออยู่, คงอยู่, เป็นเดน (อาหาร)
  25. อวธารณ : (นปุ.) การรับรอง, การรับไว้, การกำจัดลง, ความมั่นคง, คำมั่นคง.
  26. อวสิฏฺฐก : ค. เหลือลง, คงอยู่
  27. อวสีน : ค. อยู่, คงอยู่
  28. [1-27]

(0.0131 sec)