Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คาถ , then คาถ, คาถา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คาถ, 26 found, display 1-26
  1. คาถ : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  2. คาถาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง คาถา, การเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  3. เถรคาถ : อิต. เถรคาถา, คาถาของพระเถระชื่อคัมภีร์หมวดหนึ่งในขุททกนิกาย
  4. เถรีคาถ : อิต. เถรีคาถา, คาถาของพระเถรี, ชื่อคัมภีร์หมวดหนึ่งในขุททกนิกาย เถว ป. หยดน้ำ, หยาดน้ำ
  5. นิคมคาถ : (อิต.) นิคมคาถา คือคำประพันธ์ ที่กล่าวย่อ คำเดิมให้สั้น เพื่อให้ผู้ฟังเข้า ใจง่าย.
  6. ปฏิคาถ : อิต. คาถาตอบ, คาถาโต้ตอบ
  7. พุทฺธคาถ : อิต. พระดำรัสของพระพุทธเจ้าที่เป็นคำกวี
  8. อุทานคาถ : (อิต.) คำที่เปล่งขึ้นด้วยความเบิกบานใจ.
  9. คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
  10. จตุปฺปาทก, - ทิก : ค. (คาถา) มีสี่บาท
  11. นวงฺคสตฺถุสาสน : (นปุ.) คำสั่งสอนของ พระศาสดามีองค์เก้า, นวังคสัตถุศาสน์. องค์ ทั้ง ๙ นั้น คือ สุตตะ๑ เคยยะ ๑ เวยยากรณะ คาถา ๑ อุทาน ๑ อิติวุตตกะ ๑ ชาดก อัพภูตธรรม ๑ เทวัลละ ๑.
  12. คาถ : นป. คำอันเป็นคาถ
  13. คาถาทฺวย : นป. หมวดสองแห่งคาถา, คาถาสองคาถ
  14. คาถาปท : นป. บาทคาถา, คาถาบาทหนึ่ง
  15. คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
  16. คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
  17. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  18. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  19. ทาตฺยูห : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. ทาติ อูหติ อุสฺสหตีติ ทาตฺยูโห. ขณฺฑิตทฺธนิอิจฺจตฺโถ. ฎีกาอภิฯ คาถาที่ ๖๔๔. แปลง อิ ที่ ติ เป็น ย รัสสะ อู เป็น อุ เป็นทาตฺยุห บ้าง.
  20. ธมฺมปท : (นปุ.) ข้อแห่งธรรม, บทแห่งธรรม, ธรรมบท ชื่อคาถาบาลี หมวดหนึ่งใน ขุททกนิกาย. ไตร. ๒๕/๑๕-๖๗.
  21. ปทวณฺณนา : อิต. การพรรณนาบท, การอธิบายความหมายของคำในคาถ
  22. ปทาตฺเว : อ. เพื่อจะให้; ในคาถาแห่งอภิณหชาตก แปลว่าเพื่อถือเอา (ป+ อา + ทา + ตฺเว)
  23. ปรมตฺถทีปนี : อิต. อรรถกถาที่อธิบายปรมัตถธรรม; ชื่ออรรถกถาแห่งเถรคาถา, เถรีคาถา, วิมานวัตถุ, เปตวัตถุ, อุทาน, อิติวุตตกและปัญจปกรณ์แห่งอภิธรรมปิฎก
  24. ปริกมฺม : (นปุ.) การทำบ่อยๆ, การทำซ้ำๆ, การขัดถู, การบริกรรม, ไทยใช้บริกรรม เป็นกิริยาในความว่า สำรวมใจสวดมนต์ สำรวมใจร่ายมนต์เสกคาถา เสกเป่า ตกแต่ง กำหนดใจ นวดฟั้น ฉาบทา.
  25. พาหิรมนฺต : นป. มนต์ภายนอก (พุทธศาสนา), คาถาอาคม; คำสอนภายนอก (พุทธศาสนา)
  26. อาถพฺพณิก : ป., ค. หมอยาทางไสยศาสตร์, ผู้ชำนาญเวทมนต์คาถ
  27. [1-26]

(0.0059 sec)