คา : (อิต.) แผ่นดิน, โลก.
อาปกา, - คา : อิต. แม่น้ำ
คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
คาถาวณฺณนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, กถาเครื่องพรรณนา ซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, วาจาเป็นเครื่อง พรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา, การพรรณ- นาซึ่งเนื้อความแห่งคาถา. วิ. คาถตฺถสฺส วณฺณนา วา คาถา วณฺณนา. คาถาย อตฺถสฺส
คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
คามิย : (วิ.) อันเป็นของผู้มีอยู่แห่งชาวบ้าน วิ. คามสฺส สนฺตกํ คามิยํ. อิย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๒๕. หรือลง ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. แปลง ก เป็ฯ ย.
คาถาภิคีต : ค. ซึ่งได้มาด้วยการท่องคาถา, ได้มาด้วยการขับร้อง
คาเมยฺย : ค. ซึ่งอยู่ในบ้าน, เกี่ยวกับบ้าน
คาหก : ค. ผู้ยึด, ผู้ถือ, ผู้แบกหาม
คาถก : นป. คำอันเป็นคาถา
คาถาทฺวย : นป. หมวดสองแห่งคาถา, คาถาสองคาถา
คาถาปท : นป. บาทคาถา, คาถาบาทหนึ่ง
คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
คามก : (ปุ.) ประชุมแห่งบ้าน, หมู่บ้าน. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
คามนฺต : ป. บ้าน, เขตบ้าน, แดนบ้าน, ที่ใกล้บ้าน
คามนฺตร : นป. บ้าน, ละแวกบ้าน, ระหว่างบ้าน
คามิก : ป. ผู้อยู่ในบ้าน, ชาวบ้าน
คามิ คามินี คามี : (วิ.) มีปกติยัง...ให้ถึง.
คายิกา : อิต. หญิงนักร้อง
คาหน : นป. การดำลงไป, การโจนลงไป
คาหาเปติ : ก. ให้ถือ, ให้ยึด, ให้จับ, สั่งจับ
คาหี : (วิ.) ผู้จับ,ฯลฯ. ณี ปัจ.
ปฏิคฺคาหก : ค., ป. ผู้รับ, ผู้ยอมรับ, ผู้ถือเอา; ปฏิคาหก
จนฺทภาคา : (อิต.) จันทภาคา ชื่อแม่น้ำ วิ. จนฺทภาคโต ปภวตีติ จนฺทภาคา (เกิดจาก ภูเขาชื่อจันทภาคะ).
คงฺคา : (อิต.) น้ำ (น้ำทั่วๆไป), คงคา ชื่อแม่น้ำ สายที่ ๑ ใน ๕ สาย ของอินเดีย. วิ. สพฺพตฺร คจฺฉตีติ คงฺคา คมฺ คติยํ, อ, คาคโม, มสฺส นิคฺคหิตํ (แปลง ม เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิตเป็นพยัญชนะที่สุดวรรค). อา อิต. แปลว่า แม่น้ำ ทะเล ก็มี.
โคปาลคามก : (ปุ.) หมู่บ้านของคนเลี้ยงโค. วิ. โคปาลานํ คาโม โคปาลคามโก. ก สกัด.
จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
ทุกฺขนิโรธคามินีปฏิปทา : (อิต.) ปฏิปทาอัน ยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับทุกข์, ทางดำเนินอันยังสัตว์ให้ถึงความดับทุกข์, ข้อปฏิบัติอันยังผู้ปฏิบัติให้ถึงความดับทุกข์, ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา ชื่ออริยสัจ ๔ ข้อที่ ๔.
เทสนาคามินี : (อิต.) เทสนาคามินี ชื่ออาบัติ, อาบัติเป็นเทสนาคามินี คืออาบัติที่ภิกษุ ต้องเข้าแล้ว จะพ้นจากอาบัตินั้นได้โดย การแสดง (ปลงอาบัติ) ได้แก่อาบัติ ถุลสัจจัย ปาจิตตีย์ ปาฏิเทสนียะ ทุกกฎ และทุพภาสิต.
ธมฺมภณฺฑาคาริก : (ปุ.) ภิกษุผู้รักษาซึ่งเรือน แห่งภัณฑะคือธรรม, ธรรมภัณฑะคาริกะ ชื่อของพระอานนท์, พระอานนท์.
นินฺนคา : (อิต.) แม่น้ำ วิ. นินฺนํ ฐานํ คจฉตีติ นินฺนคา. นินฺนปุพฺโพ, คมุ คติยํ สปฺปคติยํ วา, กฺวิ.
ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
มิคารมาตุ : (อิต.) มิคารมารดา ชื่ออุบาสิกา.
องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
อนฺท : (นปุ.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
อนฺทุ อนฺทุกา : (อิต.) เครื่องผูก, เครื่องจำ, เครื่องจองจำ, ขื่อ, คา, ตรวน.โซ่, โซ่ตรวน.อทิพนฺธเน, อ.อุ.
อปคา : (อิต.) แม่น้ำ, ลำน้ำ (ทางน้ำที่ใหญ่ยาว)ส. อปคา.
อากาสคงฺคา : (อิต.) ลำน้ำในอากาศ, แม่น้ำในอากาศ. วิ.อากาเสสนฺทมานาคงฺคาอากาสคงฺคา.
อาคาริก : (ปุ.) คนผู้ประกอบในเรือน, คนอยู่ในเรือน, คนครองเรือน, คฤหัสถ์. อคาร+ณิกปัจ.แปลงกเป็นยเป็นอาคาริยบ้าง.
อาปคา : (อิต.) แม่น้ำ.อาปํสมุทฺทํคจฺฉตีติอาปคา.อาปุพฺโพ, คมฺสปฺปคติมฺหิ.กฺวิ.ส.อาปคา.
เอกาคาริก : (ปุ.) โจร, ขโมย. วิ. เอกํ อสหายํ อคารํ, ตํปโยชนํ เอกาคาริโก. อิก ปัจ.
ฉตฺตคาหก : ค. ผู้ถือร่ม, ผู้กางร่ม
ทุกฺขนิโรธคามินี : ค. (ปฏิปทา) ซึ่งยังผู้ปฏิบัติให้ถึงซึ่งความดับแห่งทุกข์
ธมฺมสงฺคาหก : ค. ผู้ร้อยกรองหรือแต่งพระคัมภีร์
นิคฺคาหก : ค. ผู้ติเตียน, ผู้ข่มขู่, ผู้กดขี่
นิมิตฺตคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาซึ่งนิมิต
ปทกฺขิณคฺคาหี : ค. ผู้ถือเอาโดยเบื้องขวา, ผู้รับเอาด้วยความเคารพ, ผู้เรียนรู้ได้รวดเร็ว
ปยคฺคาหี : ค. ผู้ยึดติด, ผู้ยึดถือ, ในสิ่งอันน่ารัก น่าพอใจ
พลิปฏิคฺคาหก : ค. ผู้รับเครื่องบูชา, ผู้รับพลีกรรม เช่น พวกพราหมณ์, ผู้เก็บภาษี