สร : (วิ.) ไป, ถึง, เป็นไป, เที่ยวไป, ออกเสียง, กำจัด, ขจัด, คิด, คำนึง, นึก, ระลึก, เปล่งออก, ซ่านออก.
อุปธาเนติ : ก. ตรึก, คิด, คำนึง
จิตฺตาโภค : (ปุ.) ความคำนึงแห่งจิต, ความหวน คิดแห่งจิต, ความตั้งใจ. จิตฺต+อาโภค.
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
ปริวิตกฺก : ป. ความตรึก, ความคิดกังวล, ความคิดคำนึง
ปริวิตกฺเกติ : ก. ตรึก, คิดคำนึง
มโนวิตกฺก : ป. ความคิด, ความคำนึง
อนุสฺสรติ : ก. ระลึกถึง, คำนึงถึง
อนุสฺสริตุ : ป. ผู้ระลึกถึง, ผู้คำนึงถึง
อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
อาโภค : (ปุ.) ความบริบรูณ์, ความสำเร็จ, ความคำนึง, ความคิด, ความคิดนึก, ความรำพึง, ความผูกใจไว้, ความหวนระ-ลึก, ความไม่มีโทสะ.อาปุพฺโพ, ภุชฺปาลนชฺโฌหาเรสุ, โณ.ส. อาโภค.
อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
อุทยพฺพยานุปสฺสนญาณ อุทยพฺพยานุปสฺสนาญาณ : (นปุ.) ญาณพิจารณาเห็นทั้งความเกิดทั้งตามดับ, ปรีชาคำนึงเห็นทั้งความเกิดทั้ง ความดับ, ปรีชาคำนึงเห็นความเกิดและ ความดับ, ปัญญาพิจารณาเห็นความเกิด และความดับ.