Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คำ, 468 found, display 1-50
  1. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  2. ชปฺป : (ปุ.) คำพูด, คำ, ถ้อยคำ. ชปฺปฺ วจเน, อ.
  3. ปทก : ๑. ค. ผู้เข้าใจตัวบท, ผู้ชำนาญในบทพระเวท; ๒. นป. รากฐาน, มูลเค้า, หลัก; บท; คำ; ตาหมากรุก
  4. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  5. ญตฺติ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังสงฆ์ให้รู้, คำ ประกาศให้สงฆ์ทราบ ( เพื่อทำกิจของ – สงฆ์ร่วมกัน ), การบอกให้รู้, การประกาศ (บอกให้รู้ให้เข้าใจ), ญัตติ (คำเสนอให้พิ- จารณา เพื่อลงมติ). ญา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ ซ้อน ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ไทยใช้ญัตติในความหมายว่า หัวข้อ, หัว ข้อโต้วาที.
  6. ปริกปฺป : (ปุ.) ความคำนึง, ความดำริ, ความตรึก, ความกำหนด, ความเอนเอียง, คำ ปริกัป, บริกัลป์. ปริปุพฺโพ, กปฺปฺ วิตกฺก ปริจฺเฉเทสุ, อ. ส. ปริกลฺป.
  7. พหุวจน : (นปุ.) คำพูดมาก, คำพูดบ่งถึงของมาก, คำ พูดสำหรับของมาก, คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, พหูพจน์.
  8. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  9. โอวทน โอโวทน : (นปุ.) การกล่าวสอน, การสั่งสอน, การสอน,การแนะนำสั่งสอน, คำกล่าวสอน, คำสั่งสอน, คำแนะนำ, คำ แนะนำสั่งสอน, คำตักเตือน. อวปุพฺโพ, วทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ยุ. คำหลัง แปลง อ ที่ ว เป็น โอ.
  10. กวล กวฬ กพล : (ปุ.) คำ คือของที่รวมเข้า หรือตะล่อมเข้า พอใส่ปากได้ครั้งหนึ่ง ๆ, คำข้าว. ส. กวก, กวล.
  11. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  12. คุณสทฺท : (ปุ.) คำแสดงชั้นของนามนาม. คำ คุณ, คุณศัพท์ (คำวิเสสนะ คำวิเศษณ์ คือคำที่แสดงลักษณะของนามนาม).
  13. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  14. ทิฏฺฐธมฺม : (ปุ.) สิ่งอันตนเห็นแล้ว, สิ่งอัน...เห็นแล้ว, ทิฏฐธรรม. คำ ทิฏฐธรรม มีความหมายดังนี้ ความเป็นไปในปัจจุบัน, โลกนี้, ภพนี้, ชาตินี้, ปัจจุบัน; ปัจจุบัน ชาติ, ปัจจุบันภพ. วิ. ทิฏฺโฐ ธมฺโม ทิฏฺฐธมฺโม. ทิฏฺฐธมฺโม นาม ปจฺจกฺข- อตฺตภาโว.
  15. ทุจฺจริต : (นปุ.) ความประพฤติชั่ว, ความประพฤติเสียหาย, บาป. วิ. ทุ กุจฺฉิตํ จริตํ ทุจฺจริตํ. สารัตถทีปนี วิ. ทุฏฐ จริตํ ทุจฺจริตํ. วิเสเสหิ วา ทูสิตํ จริตนฺติ ทุจฺจริตํ. ทูสิต นั้นคือ ทุสฺ โทสเน, โต, อิอาคโม, ทีโฆ. คำ ทุจจริตนี้ ไทยใช้ว่า คดโกง, ฯลฯ. ส. ทุรฺศฺจริต ทุรฺจริต.
  16. เทวตา : (อิต.) เทวดา, เทพดา, เทพยดา, เทวัญ. คำ เทวตา นี้หมายเอาทั้ง เทพบุตร เทพธิดา และพรหม. เทโว เอว เทวตา. ตา ปัจ. สกัด. อภิฯ และรูปฯ ๓๖๕. ศัพท์ ที่แปลว่า เทวดา มี ๑๕ ศัพท์ และใช้เป็น พหุ. ทั้งสิ้น. ส. เทวตา.
  17. นจฺจ : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ, การรำแพน (ใช้ กับนกยูง). อีกอย่างหนึ่ง คำ การรำแพน เป็นชื่อของการเล่นไต่ลวดมในงานหลวง มือถือหางนกยูงสองมือ. วิ. นตนํ นจฺจํ, นตฺ คตฺตนาเม, โย. แปลง ตฺย เป็น จ แล้วแปลง จ เป็น จฺจ รูปฯ ๖๔๔. หรือแปลง ตฺย เป็น จฺจ ก็ได้ หรือ วิ. นฎนํ นจฺจํ. นฏฺ นตฺยํ, โย แปลง ฏฺ เป็น ตฺ รวมเป็น ตฺย แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  18. นิคท : (ปุ.) อันกล่าว, การกล่าว, โวหาร (คำ พูด). นิปุพฺโพ, คทฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, อ. ส. นิคท.
  19. ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
  20. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  21. มารวิชย : (ปุ.) การชนะวิเศษซึ่งมาร, การชนะมาร, ความชนะมาร, มารวิชัย (ผู้ชนะมาร). เป็นพระนามของพระพุทธเจ้า, พระพุทธเจ้า. คำ มารวิชัย นี้ไทยใช้เรียก พระพุทธรูปปางชนะมาร คือ ประทับนั่งขัดสมาธิ พระหัตถ์ขวาพาดพระชานุ (เข่า).
  22. รณรงฺค : (ปุ.) การไปสู่ที่ เป็นที่รบ, การถึงซึ่งที่เป็นที่รบ, รณ+องฺค (การไป) รฺ อาคม. การรบ, สนามรบ. รณ ลง องฺค สกัด. คำ ณรงค์ที่ไทยใช้ตัดมาจาก รณฺรงฺค.
  23. สนฺนิปาต : (ปุ.) การประชุม, การประชุมกัน, ที่ประชุม, สันนิบาต. คำ สันนิบาต ไทยใช้เป็นชื่อของไข้ชนิดหนึ่ง มีอาการสั่นเทิ้มและเพ้อ. สํ นิ ปุพฺโพ, ปตฺ คติยํ, โณ. ส. สนฺนิปาต.
  24. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  25. สมี : (อิต.) สมี (สะหมี) ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งใช้ในพิธีพลีกูณฑ์. วิ. คณฺฑํ สเมตีติ สมี. สมุ อุปสเม. อี อภฯ ลง อิ ปัจ. คำ สมี(สะหมี) ในภาษาไทยใช้เรียกภิกษุผู้ต้องอาบัติปาราชิกไม่ใช้คำที่มาจากภาษามคธ.
  26. สวณีย สวนีย : (วิ.) อัน...พึงฟัง. สุ สวเน, อนิโย. ศัพท์ต้น แปลง นฺ เป็น ณฺ คำ เสานีย์ แผลงมาจาก สวนีย์ และใช้เป็นนามในความว่า คำหรือคำสั่งของนางพระยา หรือคำสั่งของท้าวพระยา.
  27. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  28. สุวณฺณภูมิ : (อิต.) แดนทอง, แผ่นดินทอง, สุวรรณภูมิ. คำ สุวรรณภูมิ ไทยหมายถึง แผ่นดิน พม่า ไทย ลาว เขมร เวียดนาม มลายู และสิงคโปร์.
  29. อาโลปาโลป : (ปุ.) คำและคำ (ทุก ๆ คำ).
  30. อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
  31. เอตฺตาวตก : (วิ.) มีประมาณเท่านี้, มีประมาณ เท่านั้น. วิ. เอตํ ปริมาณ มสฺสาติ เอตฺ ตาวตโก. เอต+อาวตก ปัจ. ซ้อน ต. คำ แปลแรกเป็น เอต ที่แปลงมาจาก อิม คำ แปลหลังเป็น เอต ที่แปลว่า นั่น, นั้น.
  32. กกฺกสวาจา : (อิต.) คำหยาบ, ฯลฯ, วาจา หยาบ, ฯลฯ.
  33. กจฺฉุผล : (นปุ.) เต่ารั้ง เต่าร้าง ใช้ได้ทั้งสองคำ หมากคัน ก็เรียก.
  34. กญฺญ า : (อิต.) หญิงผู้อันบุรุษ ท. พึงยินดี, หญิงผู้อันบุรุษยินดี, หญิงผู้ยังบุรุษให้ยินดี, หญิงผู้รุ่งเรือง, สาวน้อย, นาง, นางสาว, นางสาวน้อย, หญิงสาว, นางงาม, ผู้หญิง (คำนามนาม มิใช่วิเสสนะ), ธิดา, พะงา. วิ. กนียติ กามียติ อภิปตฺถียติ ปุริเสหีติ กญฺญา. กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โย, นฺยสฺส ญตฺตํ ทฺวิตฺตํ, อิตฺถิยํ อา กํ ปุริสํ ญาเปตีติ วา กญฺญา. กปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ, ปฺโลโป, ญฺสํโยโค. โยพฺพนภาเว ฐิตตฺตา กนตีตี วา กญฺญา. ส. กนฺยา กนฺยกา.
  35. กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
  36. กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
  37. กฏมฺภรา : อิต. บัวคำชนิดหนึ่ง; ช้างพัง
  38. กฏุกวาจา : (อิต.) คำรุนแรง, ฯลฯ, คำเผ็ด ร้อน.
  39. กถิกา : อิต. ถ้อยคำ, คำพูด
  40. กโถชฺช : นป. การทะเลาะกันในคำพูด
  41. กพฺพ : (นปุ.) กาพย์ ชื่อคำของกวี กลอน โคลง ฉันท์เป็นต้น. ไทยใช้หมายถึงคำประพันธ์ ชนิดหนึ่ง คล้ายฉันท์ แต่ไม่บังคับครุ, ลหุ. กุ สทฺเท, โณ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ. ส. กาวฺย
  42. กพล กพฬ : (ปุ.) คำข้าว วิ. เกน โตเยน พล มสฺสาติ กพโล. อถวา, กุ สทฺเท, อโล. กพิ วณฺเณ วา. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น นปุ. ก็มี.
  43. กพลิงฺการ : ป. ก้อนข้าว, คำข้าว
  44. กพลิงฺการาหาร : ป. อาหารที่เป็นก้อนได้แก่คำข้าว
  45. กพฬ : ป. คำข้าว
  46. กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
  47. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  48. กวฺย : นป. กาพย์, คำประพันธ์ชนิดร้อยกรอง
  49. กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
  50. กวี : (ปุ.) คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงยินดี โดยปกติ วิ. กวติ กมิตพฺพวจนํ สีเลนาติ กวี. คนผู้กล่าวซึ่งคำอันบุคคลพึงรักโดย ปกติ วิ. กวติ เปมนียวจนํ สีเลนาติ กวี. กุ สทฺเท, ณี. ตั้ง วิ. ได้อีก.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-468

(0.0219 sec)