คุณ : (วิ.) ซ้อน, ทบ, รอง, น้อย, ประกาศ.
คุณคณ : อิต. หมวดแห่งคุณ, กองแห่งคุณ
คุณกถา : อิต. การกล่าวถึงคุณ, การกล่าวยกย่อง, การสรรเสริญ, การพรรณนาคุณความดี
คุณกิตฺตน : นป. การพรรณนาคุณความดี
คุณคฺคตา : อิต. ความเป็นผู้มีคุณความดี
คุณฑฺฒ : ค. ผู้มีคุณความดีมาก
คุณธาร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ผู้ทรงคุณ.
คุณมนฺตุ คุณวนฺตุ : (วิ.) มีคุณ.
คุณวนฺตุ : ค. ผู้มีคุณความดี
คุณวุฑฺฒ : (วิ.) ผู้เจริญแล้วด้วยความดี, ผู้ เจริญแล้วโดยความดี, ผู้เจริญด้วยคุณ, ผู้ เจริญโดยคุณ.
คุณสทฺท : (ปุ.) คำแสดงชั้นของนามนาม. คำ คุณ, คุณศัพท์ (คำวิเสสนะ คำวิเศษณ์ คือคำที่แสดงลักษณะของนามนาม).
คุณหีน : ค. ผู้เสื่อมจากคุณความดี
คุณสขฺยา : (อิต.) การนับด้วยวิธีคูณ, การคำนวนด้วยวิธีคูณ.
คุณเทสนาปริยตฺตินิสฺสตฺตนิชฺชีววส : (วิ.) อันสามารถแห่งคุณธรรมและเทสนาธรรม และปริยัติธรรม และนิสสัตตนิชชีวธรรม.
คุณธมฺม : (ปุ.) สภาพผู้ทรงไว้ซึ่งความดี, ธรรมคือความดี, ธรรมเป็นความดีเท่านั้น, ธรรมอันเป็นความดี.
คุณภาว : (ปุ.) ความดี, ชั้นของความดี, ลักษณะของความดี, คุณภาพ.
คุณวตี คุณวนฺตี : (วิ.) (หญิง.) ผู้มีความดี. ศัพท์แรกแปลง นฺตุ เป็น ต อีอิต.
คุณวุฑฺฒิ : (อิต.) ความเจริญด้วยความดี, ฯลฯ, คุณวุฒิ (ความสามารถที่เหมาะสมแก่ ตำแหน่งหน้าที่)
คุณสมฺปตฺติ : (อิต.) สมบัติคือความดี, คุณสมบัติ (ความดีเต็มที่).
คุณสิปณฺณ : (นปุ.) ผักชี, แมงลัก.
กรุณาคุณช : ค. อันเกิดจากคุณแห่งความกรุณา
ฉฬภิญฺญาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วย คุณมีอภิญญาหกเป็นต้น.
ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
ตติยคุณ : (ปุ.) คุณชั้นที่สาม, คุณนามชั้นที่ สาม, คือ อติวิเสส.
ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
นวอรหาทิคุณ : (ปุ.) คุณของพระพุทธเจ้าเก้า อย่างมีอรหังเป็นต้น.
นวารหคุณ : ป. พระพุทธคุณ ๙, พระคุณของพระพุทธเจ้าผู้อรหันต์ ๙ ประการ
นิคฺคุณ : ค. ซึ่งปราศจากคุณความดี, เลว
ปรคุณมกฺขลกฺขณ : (วิ.) ผู้มีอันลบหลู่ซึ่งคุณ แห่งบุคคลอื่นเป็นลักษณะ.
พุทฺธคุณ : ป. พระพุทธคุณ, พระคุณของพระพุทธเจ้า
รตนตฺตยคุณ : (ปุ.) คุณแห่งพระรัตนตรัย.
อคุณ : (วิ.) มิใช่คุณ, เสีย, เป็นโทษ.
อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
อสคฺคุณ : ค. ไม่มีคุณ, ไม่มีความดี
อานิสส : (ปุ.) คัณอันไหลออกเป็นนิตย์จากผล, อานิปุพฺโพ, สนฺทฺปสเว, อ.แปลงนฺเป็นนิคคหิตทเป็นส.คุณเป็นที่ไหลออกโดยยิ่ง.อา+นิ+สนฺทฺ+อปัจ.ผลอันไหลออกจากเหตุดี.อานิ=ผลสํส=ไหลออก.ความดี, คุณ, ประโยชน์, อานิสงส์(ผลแห่งการทำนั้น ๆผลแห่งกุศลผลแห่งความดี).อา-นิปุพฺโพ, สํสฺถุติยํ, อ.
ทิคุณ : (นปุ.) ชั้นสอง, สองชั้น. วิ. เทฺว คุณา ทิคุณํ.
คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
จตุคฺคุณ : ค. ซึ่งคูณด้วยสี่, สี่เท้า, สี่ชั้น
ทฺวิคุณ : (วิ.) มีขั้นสอง, มีสองชั้น, สองหน, สองเท่า.
นิคุณฺฑี นิคฺคุณฑี : (อิต.) ไม้ย่งทราย, ไม้ ย่านทราย, คนทีสอ, โคนดินสอ ก็เรียก. วิ. นตฺถิ คุณฺฑํ คพฺภพนฺธน เมตสฺสาติ นิคุณฺฑี นิคฺคุณฺฑี วา. เป็น นิคฺโคณฺฑี ก็มี.
ปคุณ : ค. คล่องแคล่ว, ซื่อตรง
ปคุณตา : อิต. ความเป็นผู้คล่องแคล่ว
ปญฺจกามคุณ : ป. กามคุณห้า (รูป, เสียง, กลิ่น, รส, สัมผัส)
ปภงฺคุณ : (วิ.) เปื่อยเน่า, เปื่อยผุ, ผุพัง, ย่อยยับ. ปปุพฺโพ, ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อุโณ. แปลง ชฺ เป็น คฺ แปลง ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ หรือแปลง ญฺ เป็น งฺ ก็ได้.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ผคฺคุณ : ป. เดือนผัคคุณ, เดือนที่ ๔ ทางจันทรคติ (ราวเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม)
มาลาคุณ : ป. เชือกร้อยดอกไม้
มุตฺตาคุณ : (ปุ.) พวงแห่งแก้วมุกดา.
สคฺคุณ : ค. คุณภาพดี