Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: คุ้ม , then คม, คุ้ม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : คุ้ม, 202 found, display 1-50
  1. คม : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป, การเดินทางไป, การเดินทางไปรบ, การยกทัพไปรบ, การเดินทัพไปรบ. วิ. คมนํ คโม. คมฺ ปัจ. ส. คมน.
  2. ปฏิสรณ : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่ยึดเหนี่ยว, ที่คุ้มภัย
  3. คมนา : (อิต.) การไป, การถึง, การเป็นไป.
  4. คมนาคมน : นป. การคมนาคม, การไปและการมา
  5. คมนีย : ค. ควรไป, พึงไป, น่าไป
  6. ชงฺคม : (วิ.) ไป, เคลื่อนไป, คลอนแคลน, กลับกลอก. ส. ชงฺคม.
  7. ชล : (วิ.) โพลง, ลุกโพลง, รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, แหลม, คม, เจริญ, มั่งคั่ง, มั่งมี, เป็นสิริ, ดี, เลิศ, ชลฺ ทิตฺติธญฺเญสุ, อ.
  8. ติกฺข : ค. ฉลาด, คม, หลักแหลม
  9. ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
  10. ติณฺห : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้าแข็ง, แข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน, โห, วณฺณวิกาโร.
  11. ติตฺต, ติตฺตก : ๑. นป. รสขม; ๒. ค. ขม; คม, แหลม; ๓. กิต. อิ่มแล้ว, พอใจแล้ว
  12. ติปฺป : ค. แหลม, คม, กล้า, แข็ง, ล้ำ, ยิ่ง, มืด, หนา
  13. ติสรณคมนุปสฺปทา ติสรณคมนูปสมฺปทา : (อิต.)การอุปสมบทด้วยการถึงสรณะสาม, ติสรณคมนุปสัมปทา ติสรณคมนูปสัมปทา คือการอุปสมบทด้วยการปกิญญาณตน ถึงไตรสรณคมน์ เป็นชื่อของวิธีอุปสมบท อย่างที่ ๒ ใน ๓ อย่าง เมื่อพระพุทธเจ้า ทรงอนุญาต วิธีอุปสมบทอย่างที่ ๓ แล้ว ทรงอนุญาตวิธีอย่างที่ ๒ นี้เป็นวิธี บรรพชาการบวชเป็นสามเณร.
  14. ทุคฺคม : (ปุ.) ทางเดินยาก, ทางกันดาร. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉนฺตฺยเตฺรติ ทุคฺคโม. ทาง อัน...ไปได้โดยยาก. วิ. ทุกฺเขน คจฺฉิยเตติ ทุคฺคโม. ทุกฺขปุพฺโพ, คมฺ คมเน, อ.
  15. ปฏุ : ค. ฉลาด, ชำนาญ, คล่องแคล่ว, เฉียบแหลม, คม, มีสุขภาพดี
  16. โพธงฺคม : ป. ดู โพชฺฌงฺคม
  17. ภุชงฺค ภุชงฺคม : (ปุ.) แปลเหมือน ภุชค. วิ. ภุเชน คจฺฉตีติ ภุชงฺโค ภุชงฺคโม วา. ศัพท์ต้น กฺวิ ปัจ. ศัพท์หลัง อ ปัจ. ลง นิคคหิตอาคม.
  18. หทยงฺคม : (ไตรลิงค์.) ถ้อยคำอันพอใจ, ถ้อยคำอันสบายหู, คำถูกใจ, คำพอใจ, คำจับใจ. วิ. หทยํ มนํ คจฺฉติ ปวิสตีติ หทยงฺคมํ. หทยปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  19. อคมนียวตฺถุ : (นปุ.) วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่พึงถึง, วัตถุอันสตรีและบุรุษไม่ควรล่วงวัตถุไม่ควรถึง, วัตถุต้องห้าม, อคมนียวัตถุ ได้แก่หญิงหรือชายที่กฎหมายหรือศีลธรรมระบุไว้มิให้ชายหรือหญิงผู้รักษาศีลธรรมล่วงละเมิดทางประเวณี.
  20. อุทฺธคม อุทฺธงฺคม : (ปุ.) ลมไปในเบื้องบน, ลมพัดขึ้นเบื้องบน, อุทธังคมวาต ชื่อ ลม ในกายอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. อุทฺธํปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  21. กูฏงฺคม : ค. (กลอนเรือน) ซึ่งไปสู่ยอด, ซึ่งไปรวมกันที่ยอด
  22. โคมิก, โคมี : ค. เจ้าของโค
  23. ชงฺคมติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา
  24. ชลนิคฺคม : ป. ทางระบายน้ำ
  25. ตุรค, ตุรงฺค, ตุรงฺคม : ป. ม้า
  26. ทุกฺขาปคม : ป. การไปปราศจากความทุกข์, การหลีกออกจากทุกข์, การเปลื้องทุกข์
  27. ทุรงฺคม : (วิ.) ไปสู่อารมณ์อันไกล, ไปสู่ที่ไกล, ไปในที่ไกล, ไปไกล.
  28. ทูรงฺคม : ค. ซึ่งไปอยู่ที่ไกล, ซึ่งไปได้ไกล
  29. ธนคม : ป. การมาของทรัพย์, กำไร
  30. นิคฺคม : ป., นิคฺคมน นป. การออกไป, การจากไป, การออกมา, บทสรุป
  31. เนคม : ค. ชาวนิคม
  32. ปฺลวงฺคม : ป. ลิง, วานร
  33. ปีติคมนีย : ค. อันควรแก่การยังบุคคลให้ถึงความอิ่มใจ
  34. ปุพฺพงฺคม : (วิ.) ถึงก่อน, มีปกติถึงก่อน,เป็นสภาพถึงก่อน, เป็นประธาน. วิ. ปุพฺพํ ปุพฺเพ วา คจฺฉตีติ ปุพฺพงฺคโม.
  35. โพชฺฌงฺคม : ป.การดำเนินไปสู่ปัญญาหรือธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้
  36. มโนปุพฺพงฺคม : (วิ.) มีใจเป็นสภาพถึงก่อน, มีใจเป็นธรรมถึงก่อน, มีใจเป็นหัวหน้า, มีใจเป็นประธาน. วิ. อุปฺปาทปฺปจฺจยตฺเถนมโน ปุพฺพงฺคโม เอเตสนฺติ มโนปุพฺพงฺคมา (ธมฺมา). คำว่า ธรรม ท. ได้แก่ เวทนขันธ์ สัญญาขันธ์ สังขารขันธ์.
  37. ยถาคม : (นปุ.) ตามพระบาลี.
  38. วิคม : ป., วิคมน นป. จากไป
  39. วิเสสาธิคม : ป. การบรรลุธรรมวิเศษ
  40. วิหงฺคม : ป. วิหค
  41. สงฺคม : ป. การไปร่วม, การเกี่ยวข้อง
  42. สมุคฺคม : ป. การขึ้นต้น
  43. สินฺธุสงฺคม : (ปุ.) แม่น้ำใหญ่ประสบกัน, ห้วงน้ำประสบกัน, ปากน้ำ.
  44. หตฺถิโสณฺฑ หตฺถิโสณฺฑวิหงฺคม : (ปุ.) นกหัสดีลิงค์.
  45. อคฺคมหาราช : (ปุ.) พระราชาผู้ใหญ่ผู้เลิศ, พระอัครมหาราช.
  46. อคฺคมหาเสนาปติ : (ปุ.) มหาเสนาบดีผู้เลิศ, อัครมหาเสนาบดี (ผู้เป็นหัวหน้าแห่งเสนาบดี).
  47. อคฺคมเหสี : (อิต.) อัครมเหสี, พระอัครมเหสี(พระมหาเสเอกของพระเจ้าแผ่นดิน).
  48. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  49. อฏฺฐงฺคม : (ปุ.) การถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้, ความดับไป, ความดับสูญ, ความดับสูญ.
  50. อตฺถคม : ป. การถึงความเสื่อม, การอัสดงคต (พระอาทิตย์)
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-202

(0.0146 sec)