คุหน : นป., คุหนา อิต. การซ่อน, การปกปิด, การรักษา; ความลับ
คุหาสย : (วิ.) มีถ้ำเป็นที่อยู่อาศัย วิ. คุหา อาสยา อสฺส อตฺถีติ คุหาสโย คุหาสยํ วา คุหาสยา วา. นอนอยู่ในถ้ำ วิ. คุหายํ สยตีติ คุหาสยํ (จิตฺตํ).
เผคฺคุ : (วิ.) ว่าง, เปล่า, หาแก่นมิได้, ไร้สาระ. วิ. ผลติ นิปฺผลํ คจฺฉตีติ เผคฺคุ (ถึงซึ่งความมีผลออกแล้ว ไม่มีผล). ผลฺ นิปฺผตฺติยํ, คุ, อสฺเส, ลสฺส โค.
สิคฺคุ : (ปุ.) มะรุม วิ. มิทฺธํ วินาสนตฺถํ เสรียเตติ สิคฺคุ, สิ เสวายํ, คุ, คฺสํโยโค.
คุรุทกฺขิณา : อิต. การทำทักษิณาให้แก่ครู, การบูชาครู
คุลี : (ปุ.) ยาเม็ด, โรคฝีเม็ดเล็ก.
กงฺคุ : (อิต.) ข้าวฟ่าง, ประยงค์ ชื่อไม้พุ่มชนิด หนึ่ง ใบมีกลิ่นหอม. วิ. โสภณสีสตฺตา คมนียภาวํ คจฺฉตีติ กงฺคุ. คมฺ คติยํ, อุ. แปลง ค เป็น ก มฺ เป็น คฺ นิคคหิตอาคม. โมคคัลลายนพฤติ วิ. กามียตีติ กงฺคุ กมุ อิจฺฉายํ, อุ. เอกักขรโกสฎีกาวิ. เกน คุณาติ สททํ กโรตีติ กงฺคุ. ก ปุพฺโพ, คุ สทฺเท, อุ. ส. กงฺคุ, กงฺคุนี.
ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
องฺคุองฺคู : (ปุ.) คนมีอวัยวะบกพร่อง, คนเปลี้ย, คนง่อย. องฺคปุพฺโพ, อูนฺปริหานิเย, กฺวิ, นฺโลโป. ศัพท์ต้นรัสสะ.
องฺคุ องฺคู : (ปุ.) คนมีอวัยวะบกพร่อง, คน เปลี้ย, คนง่อย. องฺคปุพฺโพ, อูนฺปริหานิเย, กฺวิ, นฺโลโป. ศัพท์ต้นรัสสะ.
ผคฺคุนมาส : (ปุ.) เดือนอันมีพระจันทร์เสวยนักษัตรผคฺคุนี, เดือนประกอบ ด้วยผัคคุนฤกษ์, เดือน ๔, มีนาคม, เดือนมีนาคม. เป็น ผคฺคุณมาส บ้าง.
ผคฺคุนี : (อิต.) ผัคคุนี ชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่ ๑๑ วิ. ผลํ คณฺหาเปตีติ ผคฺคุนี. ผลปุพฺโพ, คหฺ อุปาทาเน, ยุ, อี, ลสฺส โค, หสฺส อุ. แปลง ยุ เป็น อณ เป็น ผคฺคุณี บ้าง. หรือลบที่สุดธาตุแปลง อ ที่ ค เป็น อุ ก็ได้.
ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
หิงฺคุ หิงฺคุชตุ : (นปุ.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
องฺคุลิมาล : (ปุ.) องคุลิมาล ชื่อคนผู้มีมาลัยทำด้วยนิ้วมือชื่อคนผู้เป็นโจร, พระเถระนามว่า องคุลิมาล.
องฺคุลิมุทฺทา : (อิต.) หัวแหวนมีอักษร, แหวนตรา, แหวนมีอยู่ที่นิ้วมือ. วิ. องฺคุลิมุทฺทา.ส.ตัป.องฺคุลิ+มุทฺธาเป็นองฺคุลิมุทฺธา บ้าง.
องฺคุลิองฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิคนิยํ, อุลี.องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง.ศัพท์ต้นรัสสะ.องฺคุลี.
องฺคุลิ องฺคุลี : (อิต.) นิ้ว, นิ้วมือ, อคิ คนิยํ, อุลี. องคุลีชื่อมาตราวัดระยะของโบราณ ยาวเท่ากับข้อนิ้วกลาง. ศัพท์ต้นรัสสะ. องฺคุลี.
องฺคุลียก : (นปุ.) วัตถุมีอยู่ที่นิ้วมือ, แหวน. วิ.องฺคุลิยํ ภวํ องฺคุลียกํ. อีย ปัจ. ก สกัด.
อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
กตชาติหิงฺคุลิก : ค. ตกแต่งแล้วด้วยสีแดงอันบริสุทธิ์
กนิฏฐ า กนิฏฺฐงฺคุลิ : (อิต.) นิ้วก้อย.
กลิงฺคุ : ป., นป. ต้นไม้อินเดียชนิดหนึ่งคล้ายต้นพุด
คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
คุคฺคุล, - คุลุ : ก. ไม้กำคูน, ยางไม้ที่เป็นยา
จิงฺคุลิก : นป. กังหัน (สำหรับเล่น), เครื่องเล่นชนิหนึ่งทำด้วยใบตาลเป็นต้นซึ่งหมุนด้วยแรงลม
จุลฺลองฺคุลี : อิต. นิ้วก้อย
ทิคุ : (วิ.) มีวัวสอง, มีวัวสองตัว.
ทีฆงฺคุลี : ค. ผู้มีนิ้วยาว
นฬเปสิงฺคุ : (ปุ.) ปลาช่อนและปลาดุก.
ปงฺคุ, ปงฺคุล : ป., ค. ขาเขยก, คนพิการ
ปญฺจงฺคุลิก : ค. ประกอบด้วยนิ้วทั้งห้า
ปภงฺค, ปภงฺคุ : ค. แตก, หัก, ผุ, พัง, เปราะ, เปื่อย
ผคฺคุ : ป. สมัยอดอาหาร
เผคฺคุตา : อิต. ความเป็นไม้แห้ง, ความไม่มีแก่นสาร
มนุสฺสเผคฺคุ : (ปุ.) มนุษย์กระพี้, คนกระพี้, คนที่ไม่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม.
มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
โมรคุ : (นปุ.) หญ้าหางนกยูง.
วคฺคุ : ค. น่ารัก, น่าพอใจ
วคฺคุลิ : อิต. ไม้แบบใช้สำหรับตีปิงปองหรือลูกคริกเก็ต
วากรา, (วาคุรา) : อิต. ตาข่าย, บ่วง
วาคุริก : ค. ผู้ใช้ข่ายหรือบ่วงดักสัตว์
สมุคุฆาต : (ปุ.) การกำจัดเสีย, การถอนออก, การถอนออกเสีย. สํ อุ ปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, โณ.
สิคฺคุผล : (นปุ.) ฝักมะรุม.