คห : (ปุ.) การจับ, การกุม, การจับกุม, การยึด, การถือ, การยึดถือ, เรือน, ป่า, หมู่ไม้, ยักษ์, ปลาฉลาม, จระเข้, นายขมังธนู, ดาวนพเคราะห์. คหฺ อุปาทาเน, อ. ดาว- นพเคราะห์ คือ สูโร อาทิจฺโจ วา, จนฺโท, องฺคาโร, วุโธ, โสโร, ชีโว, ราหุ, สุกโก, เกตุ. ส. ครฺห.
คหกูฏ : (นปุ.) เรือนยอด. คห+กูฏ บางมติใช้ เคห แปลง เค เป็น ค หรือแปลง เอ เป็น อ.
คหการก : ป. ผู้สร้างเรือน
คหการ คหการก : (ปุ.) นายช่างผู้ทำเรือน, ช่าง ปลูกบ้าน.
คหติ, คเหติ : ก. โจนลง, ดำลง, ลุยน้ำ
คหปติ : ป. คหบดี, พ่อบ้าน, พ่อเรือน, ผู้ชายเป็นเจ้าของบ้าน
คหปติก : ค. อันเป็นของคหบดี, ผู้เป็นคหบดี
คหปติจีวร : (นปุ.) ผ้าอันคฤหบดีถวาย, ผ้าที่ ชาวบ้านถวาย.
คหปติมหาสาล : (ปุ.) คหบดีผู้มหาสาล (มี ทรัพย์เก็บไว้ ๔0 โกฏิกหาปณะ ส่วนที่ ใช้สอยประจำวัน วันละ ๕ อัมมณะ).
คิหิ : (ปุ.) คนมีเรือน, คนครองเรือน, คนมิใช่ นักบวช, คฤหัสถ์. วิ. คห เมตสฺสาตฺถีติ คิหิ. คห ศัพท์ อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อี เป็น อิ และ แปลง อ ที่ ค เป็น อิ หรือ ตั้ง เคห ศัพท์ เอา เอ เป็น อิ เป็น คิหี โดยไม่รัสสะบ้าง.
เคห : (ปุ. นปุ.) บ้าน, เรือน, ที่อยู่, เหย้า (เรือน), ทับ (กระท่อม, บ้าน). อภิฯ วิ. คณฺหาติ ปุริเสนานีตธน มิติ เคหํ. กัจฯ ๖๒๙ วิ. ทพฺพสมฺภารํ คณฺหียติ คณฺหาตีติ วา เคหํ. รูปฯ ๕๕๓ วิ. คยฺหตีติ เคหํ. คหฺ คหเณ, อ, อสฺเส. ส. เคห คฤห.
อุคฺคห : (ปุ.) การเรียน, การเล่าเรียน, ความจดจำ. อุปุพฺโพ, คหฺ คหเณ อ, ยุ.
กตปริคฺคห : ค. ชายผู้แต่งงานแล้ว
กตานุคฺคห : ค. ผู้ได้รับความอนุเคราะห์
กรคฺคห : ป. การแต่งงาน
กลิคฺคห : ป. ผลชั่ว, ความพ่ายแพ้
กายสงฺคห : ป. กายสงเคราะห์, การช่วยเหลือทางกาย
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
คิหิ, คิหี : ป. คฤหัสถ์, ผู้ครองเรือน
ชยคฺคห, - คาห : นป. ชัยชนะ, โชคดี
ญาติสงฺคห : ป. การสงเคราะห์ญาติ
โตมรคห : ป. ผู้ถือหอก, ผู้ถือหลาว
ถรุคฺคห : ค. ผู้ถือดาบ
ทารุคห : นป. โรงเก็บไม้, โรงไม้
ทุนฺนิคฺคห : (วิ.) อัน...ข่มขี่ได้โดยยาก, ข่มขี่ ยาก, ข่มขี่ได้ยาก, ข่มขี่ยาก, ยากที่จะ ห้ามไว้. วิ. ทุกฺเขน นิคฺคยฺหยตีติ ทุนฺนิคฺคโห.
เทวคห, - คหณ : ค. (ไม้) ซึ่งพระราชาผู้สมมติเทพทรงหวงแหน, ซึ่งเป็นของหลวง
ธนุคฺคห : (ปุ.) นายขมังธนู (พรานธนู).
นวคห นวคฺคห : (ปุ.) พระเคราะห์เก้า, พระ เคราะห์เก้าองค์, ดาวนพเคราะห์. ดาว นพเคราะห์ คือ อาทิตย์ จันทร์ อังคาร พุธ เสาร์ พฤหัสบดี ราหู ศุกร์ และเกตุ.
นิคฺคห : (วิ.) ข่ม, ข่มขี่, ปราบ, ปราบปราม, ข่มขู่, กด (ข่ม).
นิคฺคหกมฺม : (นปุ.) นิคคหกรรม นิคหกรรม ชื่อกรรมอันสงฆ์ลงโทษแก่ภิกษุเพื่อให้ เข็ดหลาบ.
ปคฺคห : ป. การยกย่องประคับประคอง, อุปถัมภ์, เพียร
ปฏิคฺคห : ป. การรับ, ผู้รับ, การต้อนรับ, เครื่องรองรับ, กระโถน; ปลอกสวมนิ้วมือเมื่อเย็บจีวร
ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
ปริคฺคห : (ปุ.) การกำหนดถือเอา, ฯลฯ. อ, ยุ ปัจ.
ปาณิคฺคห : ป. การแต่งงาน
พฺราหฺมณคหปติก : ป. พราหมณ์ผู้ครองเรือน
วิคฺคห : ป. การทะเลาะ, การโต้เถียง, การแยกออกเป็นส่วน ๆ, กาย, ตัว
สงฺคห : ป. การสงเคราะห์
สทฺทคฺคห : ป. การจับเสียง ; หู
สยนิคฺคห : (นปุ.) ห้องอยู่, ห้องนอน, เรือนเป็นที่นอน. วิ. สยติ เอตฺถาติ สยนี. สาเอว คหํ สยนิคฺคหํ.
อนุคฺคณฺหณ, อนุคฺคห : ป. การอนุเคราะห์, การช่วยเหลือ, การไม่รับ, การไม่ถือเอา
อนุคฺคห : (ปุ.) อันถือตาม, การอนุเคราะห์, ฯลฯความอนุเคราะห์, ฯลฯ, ความโอบอ้อมอารี.ส. อนุคฺรห.
อภิธมฺมตฺถสงฺคห : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งเนื้อความอันพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสแล้วในพระอภิธรรม.
อภิธมฺมตฺถสงฺคหอภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
อภิธมฺมตฺถสงฺคห อภิธมฺมสงคหปกรณ : (นปุ.) ปกรณ์เป็นที่ย่อเข้าถือเอาซึ่งพระอภิธรรม.
อภิธมฺมสงฺคห : (ปุ.) การรวบรวมพระอภิธรรม, การย่อพระอภิธรรม.
อวคฺคห : ป. การห้าม, การขัดขวาง, การหน่วงเหนี่ยว
อวิคฺคห : (วิ.) มิใช่วิเคราะห์, ไม่ใช่วิเคราะห์.
อสงฺคห : ป. การไม่ถือเอาพร้อม, การไม่รวบรวม, การไม่สงเคราะห์
อุคฺคหนิมิตฺต : (นปุ.) ความกำหนดเจนใจ, นิมิตติดตา.