กากณ : นป. เหรียญตรามีค่ากากณิกหนึ่ง, เหรียญมีค่าน้อยมาก
ครุภณฺฑ : (นปุ.) ของหนัก, ของมีค่ามาก, ของใช้ทน, ครุภัณฑ์.
จินฺตา : (อิต.) ความนึก, ฯลฯ. วิ. จินฺตนํ จินฺตา. ปัญญาเป็นเครื่องคิด วิ. จินฺตนา จินฺตา. จินดา ไทยใช้ในความหมายว่า แก้วมีค่า.
ชาติมณิ : ป. แก้วมณีที่มีค่าล้ำ, แก้วมณีมีค่ามาก
ทิวสภติมตฺต : (วิ.) สักว่าค่าจ้างในวัน.
ทิวสวลญฺช : (ปุ.) การใช้สอยในวันๆ, ค่าใช้ สอยในวันๆ, ค่าใช้จ่ายในวันๆ, รายจ่ายในวันๆ, รายจ่ายประจำวัน. วิ. ทิวเส ทิวเส วลญฺชิตพฺโพ ทิวสวลญฺโช. ทิวสทิสปุพฺโพ, วลชิ วลญฺชเน, อ. ลบ ทิวส ๑ ศัพท์
โทณมาปาก : ค. (มหาอำมาตย์) ผู้ตวงด้วยโทณะ = มีหน้าที่เกี่ยวกับการตวงข้าวค่านา
นวคุณ : (ปุ.) ทองมีลำดับเก้า, ทองเนื้อเก้า, ทองนพคุณ, นพคุณ ชื่อทองบริสุทธิ์ โบราณกำหนดตามคุณภาพของเนื้อทอง หนัก ๑ บาท ราคา ๙ บาท (ค่าของเงิน สมัยก่อน) เรียกว่าทองนพคุณ.
นวุติย : ค. อันควรค่าเก้าสิบ, มีราคาเก้าสิบ
นิธิมุข : ป., นป. ทรัพย์ที่ประเสริฐ, ทรัพย์ที่มีค่า
นิพฺพิส : ๑. นป. ค่าจ้าง, รางวัล, รายได้;
๒. ค. ซึ่งไม่มีพิษ
นิพฺเพส : (ปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ. นิปุพฺโพฺ วิสฺ ผรเณ, โณ. เป็น นิเวส บ้าง.
ปจฺจคฺฆ : ค. มีค่ามาก
ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
ปริพฺพย : ป. เสบียง, โสหุ้ย, รายจ่าย, ค่าจ้าง
โปสาวนิก : นป. ค่าเลี้ยงดู, เงินตอบแทนค่าเลี้ยงดู
โปสาวนิกมูล : (นปุ.) ค่าข้าวป้อน, ค่าเลี้ยงดู.
ผาติกมฺม : (นปุ.) การทำให้เจริญ, ผาติ กรรม ชื่อคำที่ใช้ในวินัยสงฆ์ว่าด้วยการจำหน่ายครุภัณฑ์ โดยเอาของสงฆ์ที่เลวกว่า (มีค่าน้อยกว่า) แลกของดี (มีค่ามากกว่าให้สงฆ์) ฯลฯ.
พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
ภตก : (ปุ.) ชนผู้บริโภคซึ่งค่าจ้าง, ลูกจ้าง, คนรับใช้ คนใช้. วิ. ภตึ ภุญฺชตีติ ภตโก. ภติ ก ปัจ. แปลง อิ เป็น อ อภิฯ.
ภตฺตเวตน : นป. อาหารและค่าจ้าง
ภติก : (วิ.) ผู้เลี้ยงชีพด้วยค่าจ้าง, ผู้ทำซึ่งค่าจ้าง. ภติ+กรฺ+กฺวิ ปัจ.
มหคฺฆ : (วิ.) มีค่ามาก, มีค่าใหญ่, มีราคามาก, มีราคาแพง.
มหคฺฆส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินมีค่ามาก.
มหารห : (วิ.) ควรค่ามาก. มหนฺต+อคฺฆ+อรห.
มูลย : นป. ค่าจ้าง, บำเหน็จ
มูลฺย : (นปุ.) ค่าจ้าง, บำเหน็จ, รางวัล. วิ. มูเลน สมฺมิตํ มูลฺยํ. ณฺย ปัจ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ วา, โย.
สหสฺสคฺฆนก : ค. มีค่าพันหนึ่ง
สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
หตฺถกมฺมมูล : (นปุ.) ค่าจ้าง, ค่าบำเหน็จ.
อคฺฆก, อคฺฆนก : ค. ของมีค่า
อคฺฆติ : ก. มีค่า, ควรแก่ค่า, ถึงค่า, คาดราคา, ตีค่า
อคฺฆนกอคฺฆนิกอคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา.
อคฺฆนก อคฺฆนิก อคฺฆนิย : (วิ.) มีค่า, มี ราคา.
อคฺฆปท : นป. ความมีค่า, ความมีราคา
อคฺฆอคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา.อคฺฆฺอคฺฆเน, อ, โณฺย, อิโย วา.วัตถุอันควรบูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺปูชายํ. เป็น อคฺฆีก็มีส.อรฺฆ.
อคฺฆ อคฺฆิย : (ปุ. นปุ.) ค่า, ราคา. อคฺฆฺ อคฺฆเน, อ, ณฺย, อิโย วา. วัตถุอันควร บูชา, เครื่องบูชา, เครื่องสักการะแขก, เครื่องต้อนรับแขก, ของรับแขก. อคฺฆฺ ปูชายํ. เป็น อคฺฆี ก็มี ส. อรฺฆ.
อคฺฆาปนก : ป. ผู้ตีราคา, ผู้ประเมินค่า
อคฺฆิย : (วิ.) มีค่า, มีราคา, อันควรยกย่อง.สฺ อรฺฆย.
อธิมตฺตตา : อิต. ความเป็นของมีค่ายิ่ง
อนคฺฆ : (วิ.) มีค่าหามิได้วิ.นตฺถิอคฺโฆเอตสฺสาติอนคฺโฆความหมายแท้จริงหมายความว่า มีค่ามากจนกำหนดค่าไม่ได้ฏีกาเวสฯท่านจึงแก้ว่าโสหิอคฺฆสฺสมหนฺตตฺตาอนคฺโฆติวุตฺโต.ส.อนรฺฆ.
อปฺปคฺฆ : ค. มีค่าน้อย, ไม่ค่อยมีราคา
อวภูต : ค. ต่ำ, ไม่มีค่า, น่าเกลียด, ปรากฏ
อากร : (ปุ.) บ่อ, บ่อเกิด, ที่อยู่, ฝูง, หมู่, พวก, กอง, อากรคือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บ.อา+กรฺ+อ ปัจ.ส.อากร.
อาจริยธน : นป. ค่าธรรมเนียมของอาจารย์, ค่าบูชาอาจารย์
อุปฺปล : นป. บัว, ดอกบัว; มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๙๘ ศูนย์ (มีค่า = ๑๐,๐๐๐,๐๐๐๑๔)
อุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก, เลิศ, ประเสริฐ, ยิ่ง, ยิ่งใหญ่, มีค่า. ส. อุรุ.