กุชน : ค. โค้ง, งอ
กุญฺจิต : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, ปิด, แนบ, แน่น, สนิท.
กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
กุฏิล : ค., นป. โค้ง, งอ, โกง, คดโกง; ส่วนที่โค้ง, ที่คด, ที่งอ
กุณ : (วิ.) หดเข้า, สั้นเข้า, งอ, หงิก, ง่อย.
โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
จริมฺห : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.
ปฏิกุณิก : ค. คด, งอ, โกง
ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
วงฺก : ๑. ค. คด, งอ, โค้ง;
๒. นป. ชื่อภูเขา; กีบเท้าสัตว์, เบ็ด
สงฺกุจติ : ก. หด, งอ, กำ
อกติ : ก. คด, งอ, บิดไปบิดมา
อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
อนุชุ, อนุชฺชุ : ค. ไม่ตรง, คด, งอ, โกง
อภินต : กิต. โค้ง, ก้มลง, งอ
อภินมติ : ก. ก้มลง, โค้ง, งอ
อฬาร : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด.วิ.อลตีติอฬารํ.อลฺพนฺธเน, อโร.แปลงลเป็นฬ
อาฬาร : ค. หนา, กว้าง, โอฬาร, คด, งอ
โอภญฺชติ : ก. ม้วน, งอ, โค้ง, ทบ
ฌลรี : (วิ.) หงิก, งอ.
หุจฺฉน : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ. หุจฺฉโกฎิลฺเล, ยุ.
กฏฺฐ การ : (ปุ.) ช่างไม้ วิ. กฏฺฐํ กโรตีติ กฏฺฐ กาโร. ณ ปัจ. กฏฺฐ าริ (ปุ.อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับถาก ไม้ชนิดหนึ่ง รูปคล้ายจอบ ใส่ด้ามยาว สำหรับถือถาก ใบหนากว่าจอบ แต่โค้งงอ มาทางผู้ถือด้าม.
กุณฺเฐติ : ก. ทำให้งอ, ทำให้คด, ทำให้เป็นง่อย
กุณลี : ค. หดเข้ามา, งอเข้ามา
โคปานสีวงฺก : ค. คดหรืองอเหมือนไม้กลอนหรือจันทัน
ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
ชิมฺห : (วิ.) คด, คดเคี้ยว, โค้ง, โกง. งอ, บิด. หา จาเค, โม. เทวภาวะหา รัสสะ แล้ว แปลง ห เป็น ช แปลง อ เป็น อิ เปลี่ยน อักษรคือเอา ม ไว้หน้า ห ตัวธาตุ.
นิกฺกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
นิกฺกุชฺเชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
นิกุชฺชติ : ก. คว่ำ, งอเข้า, โค้งเป็นวง
นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
นิพฺพงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, ซึ่งไม่งอ, ซึ่งไม่โค้ง, ตรง
ปฏิกุชฺชน : นป. การงอ, การโค้ง, การโก่ง
ปฏิกุชฺเชติ : ก. งอ, โค้ง, โก่ง
ปฏิกุฏติ : ก. งอ, โก่ง, บิด, หด, กระตุก; ถอยกลับ, หน่าย
เมถุนธมฺม : (ปุ. นปุ) เรื่องความประพฤติของหญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, เรื่องของคนคู่กัน, ประเพณีของชาวบ้าน, เรื่องของชาวบ้าน, ธรรมของอสัตบุรุษ, เมถุนธรรม (เรื่องของคนเป็นคู่ๆ พึงประพฤติ). วิ. เมถุนํ เอว ธมฺโม เมถุนธมฺโม.
วงฺกตา : อิต. ความงอ, ความคด
สมฺมิญฺชติ : ก. งอ, โค้ง
อกุสองฺกุส : (ปุ.) ขอ (ไม้หรือเหล็กที่งอๆสำหรับใช้ชักเกี่ยวสับ), ขอเกี่ยว, ขอช้าง.วิ. อํเกติ อเนนาติ อํกุโส องฺกุโส วาอํกฺลกฺขเณ, โส, อสฺส อุ (แปลงอเป็นอุ).เวส ฯ๕๘๘ลง อุ อาคม. ส. องฺกุศองฺกุศสฺ
อติวงฺกินี : ค. คดมาก, งอมาก
อธิโรหณี : (อิต.) พะอง, บันได.วิ.อุทฺธ มาโรหเต เอตายาติ อธิโรหณี. อธิปุพฺโพ, รุหฺปาตุภาเว, ยุ, อิตถิยํอี. เป็นอธิโรหิณีเพราะแปลงอที่หเป็นอิบ้าง.
อนฺตรีป : (นปุ.) เกาะ.วิ. ทฺวิธาคตานมาปานมนฺตรคตํอนฺตรีปํ.แปลงอที่รเป็นอี.อการสฺสี.
อนฺเตปุร : (นปุ.) ภายในแห่งบุรี, ภายในแห่งเรือนหลวง, ภายในพระราชวัง, ห้องพระมเหสี, ห้องพระสนม.วิ.อนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํเคหํอนฺเตปุรํ.ปุรสฺสอนฺเตอนฺเตปุรํ.เป็นอนฺโตปุรํ.โดยแปลงอที่ต เป็นโอบ้างส.อนฺเตปุร.
อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
อวงฺก : ค. ซึ่งไม่คด, อันไม่งอ
อวนิ : (อิต.) แผ่นดิน วิ. สตฺเตอวตีติอวนิ.อวฺรกฺขเณ, ยุ, นสฺสนิตฺตํ (แปลงนเป็นนิ), นสฺสวาอสฺสอิตฺตํ (หรือแปลงอแห่งนเป็นอิ). หรือลงอนิปัจ.รูปฯลงอิปัจ.นฺอาคม.เป็นอวนีบ้างส.อวนิอวนี.
อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.