Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ง่าม , then งาม, ง่าม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ง่าม, 169 found, display 1-50
  1. เภณฺฑิ : (อิต.) ฉมวก ชื่อเครื่องมือสำหรับแทงปลาเป็นต้น ทำเป็น ๓ ง่ามบ้าง ๕ ง่ามบ้าง ปลายง่ามแหลมและมีเงี่ยงเหมือนเบ็ดมีด้ามยาว. ภิทิ วิทารเณ, อิ. แปลง ท เป็น ฑ นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ แปลง อิ ที่ ภิ เป็น เอ.
  2. องฺคุลนฺตร : (นปุ.) ระหว่างนิ้วมือ, ง่ามมือ.
  3. กลฺยาณทสฺสน : ค. น่าดู, น่ารัก, งาม
  4. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  5. โกมล : (วิ.) อ่อน, ละเอียด, งาม, น่าฟัง, ไพเราะ, หวาน, เรียบ, สุภาพ. กุ สทฺเท, อโล, มฺ อาคโม. ส. โกมล.
  6. เขม : (วิ.) ดี, งาม, เจริญ, ประเสริฐ, สบาย, สบายใจ, ปลอด, ปลอดภัย, ปลอดโปร่ง, สำราญ, เป็นมงคล, เกษม. วิ. ขียเตตฺถ อสุภนฺติ เขมํ. ขี ขเย, โม.
  7. จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
  8. จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
  9. ฉฏ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, งาม, สวยงาม, งดงาม. ฉิ ทิตฺติยํ, โฏ, อิสฺสตฺตํ.
  10. ชญฺญ : ค. บริสุทธิ์, งาม, เลิศ, ประเสริฐ, มีสกุล, ผู้รู้
  11. ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
  12. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  13. ทสฺสนีย, - เนยฺย : ค. ซึ่งควรมองดู, ซึ่งควรแก่การเห็น, น่าดู, น่าชม, สวย, งาม
  14. พิสาล : (วิ.) ใหญ่, กว้าง, กว้างขวาง, แผ่ไป, งาม, ไพศาล. ดู วิสาล.
  15. มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
  16. มธุร : (วิ.) หวาน, อร่อย, ไพเราะ, งาม, มีน้ำผึ้ง, มีน้ำหวาน, มีรสหวาน. วิ. มธุ อสฺส อตฺถีติ มธุโร. มธุ อสฺมึ วิชฺชตีติ วา มธุ-โร. มธุ+ร ปัจ.
  17. มนุญฺญ : (วิ.) อันยังใจให้ฟูขึ้น, อันยังใจให้สูงขึ้น, อันยังใจให้ยินดีโดยยิ่ง, เป็นที่ชอบใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ฟูใจ, เป็นที่เจริญใจ, ถูกใจ, พึงใจ, พอใจ, ประเสริฐ, เลิศ, งาม, ดี, ดีนัก. วิ. มนํ ญาเปตีติ มนุญฺญ. มนปุพฺโพ, ญปฺ โตสเน, กฺวิ. แปลง อ ที่ น เป็น อุ ลบ ปฺ ซ้อน ญฺ. มนํ อาภุโส โตเสตีติ วา มนุญฺญ. มนโส โตสนชนนํ วา มนุญฺญ.
  18. รุจิร : ค. น่าใคร่, น่าพอใจ, น่าปรารถนา, งาม
  19. วิลาส : ค. มีเสน่ห์, งาม
  20. สุ : (อัพ. อุปสรรค) ดี, สวย, งาม, ง่าย, ชอบ, โดยชอบ, โดยสมควร, ยิ่ง, มาก, สุข, สบาย, พลัน, เร็ว, สำเร็จ.
  21. สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
  22. สุทสฺสน : (วิ.) เห็นดี, เห็นงาม, พึงใจ, น่าดู, งาม, งดงาม, สวย.
  23. โสภณ โสภณ : (วิ.) ดี, งาม, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. จรูญ, จำรูญ. รุ่งเรือง. สุภฺ ทิตฺติยํ, ยุ, อุสฺโส ศัพท์ต้น แปลง น ซึ่งแปลงมาจาก ยุ เป็น ณ. ส. โศภน.
  24. อภิกฺกนฺต : (วิ.) ดี, งาม, สวยงาม, งามยิ่งนัก, ผุดผ่อง, ไพเราะยิ่ง, ไพเราะยิ่งนัก, อนุโม-ทนายิ่งอภิปุพฺโพ, กมุกนฺติยํ, โต.ก้าวไปข้างหน้า.กมฺปทวิกฺเขเป.
  25. อุชุ : (วิ.) ตรง, ซื่อ, ซื่อตรง, งาม, อรชร (งาม). วิ. อรติ อกุฏิลภาเวน ปวตฺตตีติ อุชุ. อรฺ คมเน, ชุ, อรสฺส อุ, อชฺ คมเน วา, อุ, อสฺสุ. อถวา, อุชุ อชฺชเว, อุ. ส. ฤชุ.
  26. อุปโสภติ : ก. โสภา, สุกใส, งาม
  27. โอฬาร โอฬาริก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, โต, โตใหญ่, โอ่โถง, หยาบ, ดี, งาม, เอาฬาร, เอาฬาริก, เอาฬารึก. อุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, โร. แปลง อุ เป็น โอ ลา เป็น ฬา.
  28. มโนรม : (วิ.) เป็นที่รื่นรมย์แห่งใจ, เป็นที่ขอบใจ, เป็นที่ยินดีแห่งใจ, งาม ดี ดีนัก. วิ. มโน รมตฺยสฺมินฺติ มโนรมมํ. รมุ รมเณ, อ.
  29. ภทฺท : (วิ.) งาม, ดี. (ตรงข้ามกับชั่ว), ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ, เป็นสุข, เจริญ ,จำเริญ, เรือง, รุ่งเรือง, ผุดผ่อง, ประเสริฐ, น่ารัก, น่าชม, สบาย, สำราญ, สวัสดี, เป็นมงคล, หล่อ (งาม). ภทิ กลฺยาณสุขภาเวสุ, โท, รูปฯ ๖๕๕. ดู ภทฺร ด้วย.
  30. ภพฺพ : (วิ.) ผู้ควรหลุดพ้น, อันเขาย่อมเป็น, เหมาะ, ควร, ชอบ, มี, เป็น, จักมี, จักเป็น, ดี, งาม. วิ. สมควร, ภูยเตติ ภพฺพํ. ภวนํ วา ภพฺพํ. ภู สตฺตายํ, โณฺย. แปลง ณฺย กับ อู ที่ ภู เป็น อพฺพ รูปฯ ๕๓๙ โมคฯ ลง ย ปัจ.
  31. มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
  32. รจน : (วิ.) งาม.
  33. รจิต : (วิ.) งาม.
  34. โสภณ : ค. งาม
  35. โสภติ : ก. งาม
  36. อนงฺคณ : (วิ.) ผู้มีกิเลสเพียงดังเนินหามิได้, ผู้ไม่มีกิเลสเพียงดังเนิน, ผู้ไม่มีกิเลส, ผู้ไม่มัวหมอง, ผู้บริสุทธ์, ผู้งาม, งาม.น+องฺคณ.
  37. อภิรูป : (วิ.) มีรูปยิ่ง, มีรูปงาม, งาม.งดงาม, สวย, สวยงาม, น่าดู, ต้องตาต้องใจ.ส.อภิรูป.
  38. อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
  39. อุชุก : (วิ.) ตรง, ซื่อ, ซื่อตรง, งาม. ก สกัด.
  40. กจฺจ : (ปุ.) คนสวย, คนงาม, คนสวยงาม. กจฺ ทิตฺติยํ, อ. แปลง จ เป็น จฺจ.
  41. กฏิปุถุลก : นป. มีก้นใหญ่, มีก้นงาม
  42. กตกลฺยาณ : ค. ผู้มีกรรมดีหรือกรรมงามอันทำแล้ว
  43. กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
  44. กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
  45. กมฺพุคีว : ค. มีคองามเป็นปล้องๆ ดุจหอยสังข์
  46. กมฺพุคีวา : (อิต.) คองามคล้ายกรองทอง คือ คอมีปล้อง ๓ ปล้อง เป็นลักษณะอย่าง หนึ่งของมหาปุริสลักษณะ, คอปล้อง. วิ. กมฺพุมเยน อาลิงฺเคน สนฺนิภา คีวา กมฺพุคีวา.
  47. กมลา : อิต. หญิงงาม, นางงาม, ชื่อฉันท์ชนิดหนี่งเรียกว่ากมลฉันท์
  48. กลฺยาณ : (วิ.) ดี. งาม, พะงา (งาม, สวย), เป็น ที่ชอบใจ, ชอบ, ไพเราะ, อ่อนหวาน. กลฺ สํขยาเณ, ยาโณ. ส. กลฺยาณ.
  49. กลฺยาณก : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...อันงาม. กณฺปัจ. ภาวตัท.
  50. กลฺยาณกมฺม : นป. กัลยาณกรรม, กรรมหรือการกระทำที่ดีงาม
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-169

(0.0206 sec)