Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จก, 44 found, display 1-44
  1. ปิสาจ, - จก : ป. ปีศาจ, ผี, สัตว์มีกายทิพย์จำพวกหนึ่ง
  2. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  3. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  4. โตยสูจก : (ปุ.) กบ (สัตว์ครึ่งน้ำครึ่งบก). ส. โตยสูจก.
  5. จกลาป : ป. จุกผม, ผมเปีย
  6. กญฺจก : นป. ต้นไม้ชนิดหนึ่ง
  7. กฏฐมญฺจก : นป. เตียงไม้
  8. กฏุกญฺจกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี จิตหดหู่โดยความเป็นจิตเผ็ดร้อน.
  9. กิจฺจกรณีย : นป. กรณียกิจ, สิ่งที่ควรทำตามหน้าที่
  10. กุกฺกุจฺจก : ค. ผู้รำคาญ, ผู้กังวล
  11. กุฏุกุญฺจก : ค. ใกล้ชิด, กระชับ, แน่น
  12. ขนฺธปญฺจก : (นปุ.) หมวดห้าแห่งขันธ์.
  13. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  14. นจฺจก : (ปุ.) คนฟ้อน, คนรำ, ฯลฯ.
  15. นิลญจก นิลญฉก : (ปุ.) คมผู้หมายลง, คน ประทับตา, คนผู้ทำรูป, คนผู้ทำรูปสัตว์. นิปุพฺโพ, ลญจฺ ลญฉฺ ลกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.
  16. ปญฺจก : ค. หมวดห้า
  17. ปาจก : ค. ผู้หุงต้ม, ผู้ปรุงอาหาร
  18. ผลปญฺจก : นป. หมวดห้าแห่งผล
  19. มญฺจก : ป. เตียงน้อย, บัลลังก์
  20. มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  21. มรณมญฺจก : ป. เตียงที่นอนตาย
  22. มุญฺจก : ค. ผู้ปล่อย, ผู้พ้น
  23. เมจก : (วิ.) ดำ, เขียว, เขียวคราม.
  24. ลิโกจก : ป. ไม้ปรู
  25. โลจก : ค. ผู้ลาก, ผู้ดึง, ผู้ถอน
  26. วญฺจก : ป. ผู้ล่อลวง, ผู้คดโกง
  27. วิโมจก : ค. ผู้พ้น
  28. สสูจก : ค. ผู้ชี้แจง, ผู้แสดง
  29. สิญฺจก : ค. ผู้รดน้ำ
  30. สุจก : (วิ.) ส่อเสียด, เสียดแทง, ทิ่มแทง. สุจฺ เปสุญฺเญ, อ. ก สกัด.
  31. สูจก : (วิ.) ผู้แต่ง, ผู้ร้อยกรอง, ผู้ชี้แจง, ผู้ประกาศ. สูจฺ คนฺถเน, ณฺวุ. ผู้ส่อเสียด, ผู้พูดส่อเสียด. สูจฺ เปสุญฺเญ.
  32. อตินีจก : ค. ต่ำยิ่ง
  33. อมฺพสิญฺจก : ค. ผู้รดมะม่วง, ผู้ดูแลรักษามะม่วง
  34. อุจฺจก : ค. สูง
  35. กุกฺกุจฺจ : (นปุ.) ความรำคาญ, ความเดือดร้อน, ความสงสัย, ความรังเกียจ (ความรู้สึกสะ อิดสะเอียนในการทำความชั่ว). วิ. กุจฺฉิตํ กโรตีติ กุกฺกตํ. จิตฺตํ; ตํสมงฺคี วา, ตสฺส ภาโว วา กุกฺกุจฺจํ. กุจฺฉิตํ กุตํ กุกฺกุตํ. ตสฺส ภาโว กุกฺกุจฺจํ. กุกฺกุจฺจก
  36. ฆรโคลิกา : (อิต.) จิ้กจก, ตุ๊ดตู่ ชื่อสัตว์ชนิด หนึ่งคล้ายตุ๊กแก, ตุ๊กแก. วิ. ฆรสนฺนิสฺสิตา โคธา โคลิกา ฆรโคลิกา. แปลง ธ เป็น ล ก สกัด อิ อาคม. เป็น ฆรโคฬิกา บ้าง.
  37. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  38. จโกร : (ปุ.) นก ( นกต่างๆ ) นกกด, นกเขา, นกเขาไฟ. วิ. จกตีติ จโกโร. จกฺ ปริวตฺตเน, อุโร, อุสโส.
  39. จุจิ : (นปุ.) ทรวง, ทรวงอก, หน้าอก. จิกฺ อามสเน, อิ. แปลง อิ ที่ จิ เป็น อุ แปลง กฺ เป็น จฺ.
  40. ปาจี : ค. ดู ปาจก
  41. อธิจฺจก : (อิต.) พื้นเบื้องบนแห่งภูเขา, พื้นดินบนภูเขา.วิ. ปพฺพตสฺส อุทฺธํ ภูมิ อธิจฺจกาอธิ+จฺจกปัจ.
  42. อมา : (อัพ. นิบาต) พร้อม, กับ, พร้อมกับ, ร่วม, ร่วมกัน, ร่วมกับ.ใกล้เคียง. สหตฺถวจกนิปาต.
  43. อินฺทฺริยคฺคยฺห : (วิ.) ประจักษ์, ปรากฏ. วิ. อินฺทฺริยํ จกฺ ขาทิกํ เตน คยฺหํ อินฺทฺริยคฺคยฺหํ.
  44. อุปจฺจก : (อิต.) พื้นใกล้ส่วนเบื้องต่ำแห่งภูเขา, พื้นดินเชิงเขา. วิ. เสลสฺส อโธภาคาสนฺน- ภูมิ อุปจฺจกา. อุปศัพท์นิบาต จฺจก ปัจ. อา อิต.
  45. [1-44]

(0.0206 sec)