ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
อาวิญฺชติ : ก. กวน, คน; เวียน, ชัก, ดึง, แกว่ง
อาวิญฺชนก : ค. ซึ่งเหวี่ยงไปรอบๆ, เวียน, ชัก, ซึ่งหลวม
สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
กปฺปิก : ค. ผู้เป็นไปในกัลป์, ผู้เวียนว่ายอยู่ในวัฏฏะ
กามาวฏฏ : นป. กามวัฏ, วนคือกาม, ความวนเวียนอยู่ในกาม
กิเลสวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) วนคือกิเลส, กิเลสวัฏ. กิเลสเป็นเหตุให้สัตว์วนคือท่องเที่ยวหรือ เวียนว่ายตายเกิดในภพต่าง ๆ เพราะเมื่อ กิเลสเกิดขึ้นแล้วเป็นเหตุให้ทำกรรมเมื่อทำ กรรมแล้วจะต้องได้รับผลของกรรมนั้น เมื่อเสวยผลของกรรมอยู่ กิเลสก็เกิดขึ้น อีก วนกันไปอย่างนี้ กว่าพระอรหัตต- มรรคจะตัดให้ขาดลง. ธรรมปริจเฉทที่ ๒.
จงฺกมติ : ก. จงกรม, เดินเวียนรอบไปมา
จตุปริวฏฏ : อ. โดยเวียนรอบสี่, (รู้เบญจขันธ์ตามความเป็นจริง) เป็นสี่ขั้น
ชาติสสาร : ป. การเวียนว่ายตายเกิด
ทกฺขิณาวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเวียนไปทางขวา, ความเวียนไปทางขวา, การเวียนขวา, ทักษิณาวัฏ , ทักษิณาวรรต. การเดิน เวียนขวา เป็นการแสดงความเคารพ อย่างหนึ่ง. เวียนขวาหรือการเวียนขวา นั้น คือสิ่งที่เราจะเวียนอยู่ขวามือของเรา. ส. ทกฺษิณาวรฺต.
ทกฺขิณาวฏฺฏ, วตฺต, - วตฺตก : ค. ซึ่งเวียนขวา, ซึ่งวนไปทางขวา
ทพฺพิโหม : นป. การบูชาไฟโดยใช้ทัพพีตักของเทลงในไฟ, พิธีเบิกแว่นเวียนเทียน
ทารุมณฺฑลิก : นป. วงเวียนซึ่งทำด้วยไม้, วงกลมไม้
ธูมกฏฉฺฉุ : (ปุ.) ทัพพีตักควัน, แว่นเวียนเทียน.
ปฏล : นป. เครื่องมุง, เครื่องหุ้ม, เยื่อหุ้ม, ซองจดหมาย, หลังคา, เพดาน
ปฏิปณฺณ : นป. จดหมายตอบ, หนังสือตอบ
ปฏิเลขน : นป. จดหมายตอบ
ปฏิสาสน : นป. หนังสือตอบ, จดหมายตอบ, คำตอบ
ปทกฺขิณา : อิต. ประทักษิณ, การเวียนขวา, การเดินเวียนรอบโดยหันเบื้องขวาเข้าหาปูชนียบุคคลหรือปูชนียวัตถุเพื่อเป็นการแสดงความเคารพ
ปริหารปถ : ป. ถนนวงเวียน, ถนนวงกลม
มชฺฌิมสสาร : (ปุ.) สังสาร (การเวียนตายเวียนเกิด) อันมีในท่ามกลาง ได้แก่ การท่องเที่ยวไปในกามสุคติภูมิ ๗ (มนุษย์และสวรรค์ ๖ ชั้น) พระอนา -คามีตัดมัชฌิมสังสารได้ขาด.
มณฺฑลกรณี : (อิต.) วงเวียน.
มุจฺฉา : (อิต.) ความวิงเวียน, ความสยบ (ฟุบลง) , ความสลบ (แน่นิ่ง หมดความรู้สึก), การวิงเวียน, การเป็นลม. มุจฺฉฺ โมหสมุสฺสเยสุ, อ, อิตฺถิยํ อา.
สสาร : ป. การท่องเที่ยว, การเวียนว่ายตายเกิด
อนุปริคจฺฉติ : ก. เดินไปมารอบๆ , เดินวนเวียน
อนุปริยาย : ค. อ้อม, วนเวียนไปมา
อนุปริสกฺกติ : ก. เวียนรอบๆ, ตะเกียกตะกาย, พยายาม
อนุปริสกฺกน : นป. การเวียนรอบ, การตะเกียกตะกาย; ความพยายาม
อามณฺฑลิย, - ลิก : นป. การวนเวียน, การปั่นป่วน, การรวนเร
อาวฏฺฏ : (วิ.) กลม, วน, วนเวียน (ห้วงน้ำที่ หมุนวน). วิ. อาวฏฺฏนฺติ ชลานิ อเตฺรติ อาวฏฺโฏ. อาปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตุ วา วตฺตเน, อ.
อาวฏฺฏน : นป. ความวนเวียน, ความงงงวย, เครื่องล่อ, การถูกมารดลใจ
อาวิชฺฌติ : ก. หมุนเวียน, วนเวียน; แทง, เจาะ, ไช, ดึง, ลาก
อาเวเฐติ : ก. บิด, ผูก, มัด, ห่อ, เวียนรอบ
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
อุตฺตราวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเดินเวียนซ้าย คือ การเดินเวียนโดยมือซ้ายอยู่ทาง (ด้าน) สิ่งที่เรา เวียน, อุตราวัฏ. ส. อุตฺตรวฺฤตฺต.
อุปธิก : ค. มีอุปธิ, มีเครื่องผูกพัน, มีกิเลสเป็นเหตุให้เวียนเกิด
โอฆสสาร : (ปุ.) การท่องเที่ยวไปในห้วงน้ำ คือกิเลส, โอฆสงสาร (การเวียนเกิดเวียน ตายในโลก).