จิตา : (อิต.) เชิงตะกอน วิ. จิยฺยเต ยตฺถ สา จิตา. จิ จเย, โต, อิตฺถิยํ อา.
เจตา : (อิต.) ความคิด, ความรู้, ความจงใจ, ความตั้งใจ.
เจต : (วิ.) คิด, รู้, จงใจ, ตั้งใจ. จิตฺ สํเจตเน, โณ.
จตุ : (อัพ. นิบาต) สี่. ส. จตุร.
จิต : กิต. (อันเขา) สั่งสมแล้ว, รวบรวมแล้ว, ก่อแล้ว
จิติ : อิต. ความสั่งสม, ความสะสม; กอง, ก้อน
จุต : (วิ.) ตก, พลัด, หล่น, เคลื่อน, ไป. จุ จวนคมเนสุ, ต.
จุต จูต : (ปุ.) มะม่วง จุ จวเน, โต. จุติ อาเสว- นรกฺขเณสุ, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
จุติ : (อิต.) การเคลื่อน, การแตกดับ, การตาย, ความเคลื่อน, ฯลฯ. วิ. จวนํ จุติ. จุ จวเน, ติ. จุติ ไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย. ส. จฺยุติ.
จูต : ป. มะม่วง
เจติ เจติย : (ปุ.) เจดี เจติยะ เจดีย์ ชื่อชนบท.
อุจฺจตรสฺสร : (ปุ.) เสียงสูงกว่า.
ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
จาตก : (ปุ.) นกกระเต็น วิ. โย โอกาสํ อพฺภุคฺ- คนฺตฺวา โอตริตฺวา อุทกพฺภนฺตเร มจฺเฉ คณฺหาติ โส นีลสกุโณ จาตโก นาม. จตฺ ยาจเน, ณฺวุ.
จิตฺตก : (ปุ.) จิตมูลเพลิง เจตมูลเพลิง ชื่อ- พรรณไม้เล็กๆ ใช้ทำยาไทย. จิตฺ หึสา- คนฺเธสุ, ณฺวุ แปลง ต เป็น ตฺต
จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
เจตนา : (อิต.) ธรรมชาติผู้คิด, ความคิด, ความคิดอ่าน, ความนึก, ความตริ, ความดำริ, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ. วิ. จินฺตนา เจตนา. เจตยตีติ วา เจตนา. จิตฺ สํเจตเน, ยุ. ไทยใช้ เจตนาเป็นกิริยา ในความหมาย ว่า จงใจ ตั้งใจ มุ่งหมาย ส. เจตนา.
เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.