Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จตุ , then จต, จตุ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จตุ, 162 found, display 1-50
  1. จตุ : (อัพ. นิบาต) สี่. ส. จตุร.
  2. จตุรงฺค : (วิ.) มีองค์สี่, จตุรงค์, จัตุรงค์, จตุ + องฺค รฺ อาคม.
  3. จตุตฺถ : (วิ.) ที่สี่ วิ. จตุณฺณํ ปุรโณ จตุตฺโถ. จตุ+ถ ปัจ. ซ้อน ตฺ.
  4. จตุราริยสจฺจ : (นปุ.) ของจริงอันประเสริฐสี่, ความจริงอันประเสริฐสี่ประการ. จตุ+ อริยสจฺจ รฺ อาคม.
  5. จตุกฺก : (วิ.) มีปริมาณสี วิ. จตฺตาริ ปริมาณานิ อสฺสาติ จตุกฺกํ กปัจ. สังขยาตัท.
  6. จตุกฺกงฺคุตฺตร : (ปุ.) จตุกกนิบาต, อังคุตตรนิ- กาย.
  7. จตุกฺขตฺตุ : (อัพ. นิบาต.) สิ้นสี่ครั้ง, สิ้นสี่คราว, สิ้นสี่หน. กฺขตฺตุ ปัจ. ลงในอรรถแห่งวาร ศัพท์ สัมพันธ์ว่า อัจจันตสังโยคะ วิ. จตฺตาโร วาเร จตุกฺขตฺตู กัจฯ ๖๔๖ รูปฯ ๔๐๓. สี่ครั้ง, สี่คราว, สี่หน. สัมพันธ์ เป็นกิริยาวิเสสนะ.
  8. จตุกณฺณ จตุกฺกณฺณ : (ปุ.) มนต์มีมุมสี่ คือการปรึกษากันสองคน ได้ยินกันสี่หู ( มนฺต การปรึกษา ). วฺ. จตฺตาโร กณฺณา เอตฺถาติ จตุกฺกณฺโณ. ทฺวินฺน ชนาน วิสยภูโต โส มนฺโต จตุกฺกณฺโณ. นาม.
  9. จตุจตฺตาลีส จตุจตฺตาฬีส : (อิต.) สี่สิบยิ่งด้วย สี่, สี่สิบสี่. วิ. จตูหิ อธิกา จตฺตาสีสํ จตุจตฺตาลีสํ จตุจตฺตาฬีสํ วา.
  10. จตุทฺทสม : (วิ.) ที่สิบสี่ จตุทฺทส + ม ปัจ.
  11. จตุปท จตุปฺปท จตุปาท จตุปฺปาท : (วิ.) มีเท้า สี่ (สี่เท้า)วิ. จตฺตาริ ปทานิ เอตสฺสาติ จตุป โท, ฯลฯ
  12. จตุพคฺค จตุพฺพคฺค จตุวคฺค : (ปุ.) หมวดแห่ง วัตถุสี่ที่ควรแสวงหา ได้แก่ธรรม คือหน้า ที่ ๑ กามะคือความสุข ๑ อรรถะ คือ ทรัพย์ สมบัติ ๑ โมกขะ คือ พระนิพพาน ๑ วิ จตฺตาโร วคฺคา โมกฺขสหิตา ธมฺมกามตฺถา จตุพคฺโค จตุพฺพคฺโค วา จตุวคฺโค วา, อภิฯ
  13. จตุภาค : (ปุ.) ส่วนสี่, จตุภาค, จตุรภาค, จตุร- ภาค ( สี่ส่วน ). ส. จตุรภาค.
  14. จตุภูมิ : (อิต.) ภูมิสี่(สี่ภูมิสี่ชั้น) วิ. จตสฺโส ภูมิโย จตุภูมิโย.
  15. จตุรงฺคินิ : (วิ.) (กองทัพ) มีองค์สี่ ( ช้าง ม้ารถ และพลเดินเท้า ) วิ. จตฺตาริ องฺคานิ ยสฺส วิชฺชนฺติ สา จตุรงฺคินี อี ปัจ. อินี อิต.
  16. จตุรสฺส : (วิ.) มีมุมสี่ ( สี่มุม ) วิ. จตฺตาโร อํสา ยสฺสา สา จตุรสฺสา ลบนิคคหิต รฺ อาคม แปลง ส เป็น สฺส ฎีกาเวสฯ ๕๓๑ ไทย ใช้จตุรัส จัตุรัส ในความหมายว่าสี่เหลี่ยม ด้านเท่า.
  17. จตุรสฺสก : (ปุ. นปุ.) เรือนมีมุมสี่, ปราสาท. วิ. จตุรสฺสปติสฺสยวิเสโส จตุรสฺสโก.
  18. จตุวคฺค : ค. (สงฆ์) จตุวรรค, มีภิกษุจำนวนสี่รูป, มีพวกสี่
  19. จตุสาลา : (อิต.) ศาลามีหน้าสี่, ศาลามีมุขสี่, ศลาสี่หน้าศาลาสี่มุข. จตุมุข+สาลา ลบ มุข.
  20. จตุกฺกณฺณ : ป., ค. มนต์มีสี่หู, มนต์ลึกลับซึ่งฟังได้เพียงสองคน; มีสี่มุม, ซึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยม
  21. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  22. จตุกฺกุณฺฑิก : ค. ผู้เดินด้วยอวัยวะสี่ (มือทั้งสองและเข่าทั้งสอง), ผู้คลาน
  23. จตุกฺโกณ : ค. มีสี่มุม, เป็นสี่แยก
  24. จตุกฺโกณรจฺฉา : อิต. ทางสี่แยก
  25. จตุคฺคุณ : ค. ซึ่งคูณด้วยสี่, สี่เท้า, สี่ชั้น
  26. จตุจกฺก : ค. มีจักรสี่ (หมายถึงร่างกายของมนุษย์), มีสี่ล้อ
  27. จตุจตฺตาฬีสโกฏิธนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้ง แห่งทรัพย์มีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ, ที่ เป็นที่ตั้งแห่งทรัพย์ มีโกฏิสี่สิบสี่, ที่เป็น ที่ตั้งแห่งทรัพย์สี่สิบสี่โกฏิ.
  28. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  29. จตุจตฺตาฬีสติ : อิต. สี่สิบสี่
  30. จตุชาต : ค. (ของหอม) ซึ่งเกิดแต่คันธชาติสี่, มีส่วนประกอบสี่อย่าง
  31. จตุชาติคนฺธ, จตุชฺชาติยคนฺธ : ป. ของหอมมีชาติสี่, คันธชาติสี่ชนิด คือ ๑. กุงฺกุม = หญ้าฝรั่น ๒. ตคล = กฤษณา ๓. ตุรุกฺข = กำยาน ๔. ยานปุปฺผา = บุปผชาติอันมีในแดนโยนก
  32. จตุตฺตึสติ : อิต. สามสิบสี่
  33. จตุตฺถภตฺต : นป. ภัตที่พึงบริโภคในวันที่สี่ (หลังจากที่ได้ถือพรตมาตลอดแล้วสามวัน), อาหารที่บริโภคทุกๆ สี่วัน
  34. จตุตฺถมคฺค : ป. มรรคที่สี่, อรหัตมรรค
  35. จตุตฺถมคฺคญาณ : (นปุ.) ญาณ (ความรู้) อัน สัมปยุตแล้วด้วย มรรคที่สี่. เป็น ต.ตัป. มี วิเสสนบุพ.กัม.เป็นท้อง.
  36. จตุตฺถมน : นป. ใจที่ ๔ คือชิวหาหรือลิ้น
  37. จตุตฺถี : อิต. ดิถีที่สี่; จตุตถีวิภัตติ
  38. จตุตึส จตุตฺตึส : (อิต.) สามสิบยิ่งด้วยสี่, สาม สิบสี่.
  39. จตุทฺทส : ค. สิบสี่
  40. จตุทฺทิส : (ปุ. นปุ.) ทิศสี่. อสมาหารทิคุ และ สมาหารทิคุ.
  41. จตุทฺทิสา : อิต. ทิศสี่, สี่ทิศ
  42. จตุทฺทีปิก : ค. (มหาเมฆ) อันปกคลุมทวีปทั้งสี่, (พายุฝน) อันพัดแผ่ไปทั่วทั้งสี่ทวีป
  43. จตุทฺวาร : ค. มีทวารสี่, มีสี่ประตู
  44. จตุทส จตุทฺทส จุทฺทส โจทฺทส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยสี่, สิบสี่.
  45. จตุธา : อ. โดยส่วนสี่, เป็นสี่ส่วน
  46. จตุธาตุววฏฐาน : (นปุ.) การกำหนดซึ่งธาตุสี่, ความกำหนดธาตุสี่.
  47. จตุนวุติ : ค. เก้าสิบสี่
  48. จตุปจฺจย : (ปุ.) เครื่องอาศัยเป็นไปสี่, เครื่อง อาศัยเลี้ยงชีวิตสี่อย่าง, ปัจจัยสี่. ปัจจัยสี่ คือจีวร (ผ้า) บิณฑบาต ( ข้าวปลาอาหาร ) เสนาสนะ (ที่อยู่อาศัย) และคิลานเภสัช (ยารักษาโรค).
  49. จตุปจฺจยสนฺโตส : (ปุ.) ความยินดีพร้อมใน ปัจจัยสี่, ความยินดีในปัจจัยสี่, ความพอ ใจในปัจจัยสี่ ( ตามมีตามได้ ).
  50. จตุปญฺจนาฬิมตฺต : (วิ.) มีทะนานสี่และ ทะนานห้าเป็นประมาณ เป็น ฉ.ตุล. มี อ. ทิคุ,อ.ทิคุ. และ อ.ทวัน. เป็นท้อง.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-162

(0.0643 sec)