คนฺธญฺญา : อิต. จมูก
ฆาน : (นปุ.) จมูก วิ. ฆายติ คนฺโธปาทานํ กโรตีติ ฆานํ. ฆายนฺติ อเนนาติ วา ฆานํ. ฆา คนฺโธปาทาเน, ยุ.
โฆณา : อิต. จมูก
ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
นกุฏ : (นปุ.) จมูก. ส. นกุฏ.
นตฺถุ : (อิต.) จมูก. นาสฺ สทฺเท, ถุ, รสฺโส, สสฺส โต. ไทย ยานัตถุ์ ก็คือยาที่เป่าเข้า ไปในจมูก.
นามธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นนาม, นามธรรม รู้ไม่ได้ทางตา หู จมูก ลิ้น หรือกาย แต่ รู้ได้ทางใจ).
นาสิกา : (อิต.) จมูก. นาสา เอว. นาสิกา. สตฺเถ อิโก. ส. นาสิกา.
สึฆาน สิงฺฆาน : (นปุ.) จมูก. สึฆ อาฆาเน, ยุ.
กุนตฺถุ : (อิต.) ดั้งจมูก. นตฺถุ+กุฏิ หรือ กุฏิ ลบ ฏิ หรือ ฏิก แล้วกลับบทหน้าไว้ หลัง.
กุสา : (อิต.) เชือกที่รัดจมูกม้ากับบังเหียน. กุสฺ สิเลสเน, อ, อิตฺถิยํ อา. ส.กุศ.
ขิปีต : ๑. นป. การจาม, การแสดงการดูถูกโดยวิธีย่นจมูก;
๒. กิต. ขว้างไปแล้ว
ฆานปสาท : (ปุ.) ประสาทของจมูก, ฆาน- ประสาท (เส้นใยสำหรับรับความรู้สึก ทางจมูก).
ฆานโรค : ป. โรคจมูก
ฆานสมฺผสฺส : (ปุ.) การถูกต้องทางจมูก, ฆานสัมผัส.
ฆานายตน : นป. ฆานายตนะ, ฆานประสาท, สื่อกลางที่จมูกรับรู้กลิ่น
ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).
ตุงฺคนาสิก : ค. มีจมูกโด่ง
ทีฆนาสิก : ค. ผู้มีจมูกยาว, ผู้มีจมูกโด่ง
นตฺถุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบุคคลทำโดยจมูก, กรรมคืออันนัตถุ์, การนัตถุ์.
นตฺถุกรณี : อิต. ผ้าเช็ดจมูก, ผ้าเช็ดหน้า, กล้องยานัตถุ์
นาสา : (อิต.) จมูก, งวง (จมูกของช้างที่ ยื่นออกไป). วิ. นาสนฺติ อพฺยตฺตสทฺทํ กโรนฺติ เอตายาติ นาสา. นาสุ สทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. นสา, นาสา.
นาสาปุฏ : ป. กระพุ้งจมูก, รูจมูก
นาสารชฺช : (อิต.) เชือกที่รัดบนจมูกม้ากับ บังเหียน.
นาสารชฺชุ : อิต. เชือกร้อยจมูก
นาสาวาต : ป. ลมทางจมูก, ลมหายใจ
นาสิก : ค. มีในจมูก, มีจมูก
นาสิกาโรค : (ปุ.) โรคเกิดในจมูก, ริดสีดวง จมูก, มองคร่อ, หวัด, ไข้หวัด. วิ. นาสิกาย ชาโต โรโค นาสิกาโรโค.
นาสิกาโลม : (นปุ.) ขนเกิดในจมูก, ขนจมูก.
นิคฺคหิต : ๑. นป. นิคหิต, พยัญชนะ คือ ˚ มีเสียงออกทางจมูก;
๒. ค. อัน...ตำหนิแล้ว, ...ติเตียนแล้ว, ....ข่มแล้ว, ซึ่งถูกติเตียนแล้ว
ปฏินาสิกา : อิต. จมูกปลอม
สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
อชปทก : (ปุ.) ดั้งจมูก.
อญฺชนนาฬิ : อิต. หลอดสำหรับหยอดตาหรือจมูก, กล่องยาหยอดตา
อนุนาสิก : ค. ซึ่งเกิดทางจมูก (เสียง)
อรูปธมฺม : (ปุ.) ธรรมมิใช่รูป, ธรรมที่ไม่มีรูป, อรูปธรรม, นามธรรม (ภาวะที่สัมผัสด้วยอายตนะคือ ตาหูจมูกลิ้นและกายไม่ได้สัมผัสสะได้แต่ใจ).