Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จริยา , then จรยา, จริย, จริยะ, จริยา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จริยา, 50 found, display 1-50
  1. จริยา : (อิต.) ความประพฤติ, กิริยาที่ควร ประพฤติ, จริยา, จรรยา. วิ. จรณํ จริยา. จริตพฺพนฺติ วา จริยา. จรฺ จรเณ, โณฺย, อิอาคโม. รูปฯ ๖๔๔. ส. จรฺยา.
  2. จริยาปิฏก : นป. คัมภีร์จริยาปิฎก, ชื่อของคัมภีร์สุดท้ายในขุททกนิกาย
  3. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  4. ธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จริยา ธมฺมจริยา. ทุ.ตัป. การประพฤติเป็นธรร,ความประพฤติเป็นธรรม. วิ. ธมฺโม จริยา ธมฺมจริยา. วิเสสนบุพ. กัม. เจตนาเป็นเครื่องประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรติ เอตายาติ ธมฺมจริยา. ญฺย ปัจ. ไม่ทีฆะ อิ อาคม รูปฯ ๖๔๔. การประพฤติธรรมคือการประพฤติปฏิบัติตามกุศลกรรมบท ๑๐.
  5. ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
  6. กุฏจริยา : (อิต.) ความประพฤติคด, ฯลฯ.
  7. โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
  8. จริย : (นปุ.) การเที่ยวไป, ความประพฤติ
  9. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  10. นคฺคจริยา : อิต. การประพฤติเปลือย, การเปลือย
  11. ปริจริยา : (อิต.) การบำเรอ, ฯลฯ. อิย ปัจ. ความประพฤติ. จรฺ จรเณ.
  12. ปาริจริยา : อิต. การบำเรอ, การรับใช้, การบริการ
  13. พฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์
  14. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  15. สมจริยา : (อิต.) ความประพฤติเรียบร้อย.
  16. อตฺถจริยา : อิต. การบำเพ็ญประโยชน์, การทำความดี
  17. อติจริยา : (อิต.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤตินอกใจ.
  18. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  19. อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
  20. อุญฺฉาจริยา : อิต. การเที่ยวขอทานเลี้ยงชีพ
  21. อากฺขยายิกอาขฺยายิก : (ปุ.) อาขยายิกศาสตร์ศาสตร์ว่าด้วยจริยาเป็นต้น.อภิฯเป็นอิต.
  22. จริยมนุสฺส : ป. คนคอยตรวจตรา, คนยาม
  23. กถิกาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้กล่าว, อาจารย์ผู้ อธิบาย.
  24. กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
  25. คณาจริย : (ปุ.) อาจารย์ของหมู่, คณาจารย์ (อาจารย์ของมหาชน). ภาษาพูด เรียก พระที่มีวิชาอาคมขลังว่าพระคณาจารย์ ซึ่งมีความหมายไม่ตรงกับศัพท์นี้.
  26. คนฺถรจนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งคัมภีร์, พระคันถรจนาจารย์.
  27. โคจริย : (วิ.) แดง?
  28. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  29. ปาจริย : ป. อาจารย์ของอาจารย์, อาจารย์ผู้ใหญ่, ปรมาจารย์
  30. ปาโมกฺขาจริย : ป. อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้า, อาจารย์ผู้เป็นใหญ่, อาจารย์ผู้เป็นประธาน
  31. ปุพฺพาจริย : (ปุ.) อาจารย์ในก่อน,อาจารย์มีในกาลก่อน, อาจารย์ในเบื้องต้น คือ บิดา มารดา, บุรพาจารย์
  32. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  33. รถาจริย : ป. นายสารถี, คนขับรถ
  34. สาจริยก : ค. ผู้ร่วมอาจารย์เดียวกัน
  35. หตฺถาจริย : (ปุ.) หมอช้าง, ควาญช้าง, นายหัตถาจารย์.
  36. โหราจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้รู้วิชาโหร.
  37. อฏฺฐกถาจริย : ป. พระอรรถกถาจารย์
  38. อตฺถกถาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้แต่งอรรถกถา.
  39. อนุสาวนาจริย : (ปุ.) อนุสาวนาจารย์ชื่อพระคู่สวดในการอุปสมบทซึ่งนั่งซีกข้างซ้ายมือของที่ประชุมสงฆ์ (ซ้ายมือของพระอุปัช-ฌาย์).
  40. อนุสาสนาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้ทำหน้าที่สั่งสอนอนุศาสนาจารย์.ส. อนุศาสนาจารฺย.
  41. อาจริยปาจริย : ป. อาจารย์เหนืออาจารย์, ปรมาจารย์, บุรพาจารย์
  42. อาจริยวตฺต : (นปุ.) วัตรอันศิษย์ (อันเตวาสิก)พึงทำแก่อาจารย์, กิจอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์, กิจที่ควรประพฤติปฏิบัติแก่อาจารย์, วัตรเพื่ออาจารย์, กิจเพื่ออาจารย์.
  43. อาทิพฺรหฺมจริย : (นปุ.) ศีลอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์, ปาติโมกข์สังวรศีล อันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์.
  44. อาทิพฺรหฺมจริยก : ค. เป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์, อันเกี่ยวกับสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  45. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  46. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  47. อนฺเตวาสิกวาส : (ปุ.) คนผู้มีการอยู่ในภายในเป็นปกติ, คนผู้มีปกติอยู่ในภายใน, ศิษย์. วิ. อาจริยสฺส อนฺเต สมีเป วสนสีโล อนฺเตวาสี.อนฺเต วาวาสีอนฺเตวาสี.ส. อนฺเตวาสินฺ.
  48. อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
  49. อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
  50. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  51. [1-50]

(0.0524 sec)