Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จลา , then จล, จละ, จลา, จฬา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จลา, 40 found, display 1-40
  1. จล : ค. หวั่นไหว, โคลงเคลง, ยุ่งยาก
  2. จลายติ : ก. ง่วงนอน, พยักหน้า, หงุบหงับ, เคลิ้มหลับไป
  3. จลายิกา : อิต. การง่วงเหงาหาวนอน, การเคลิ้มหลับไป
  4. จล จลน : (วิ.) ไหว, หวั่นไหว, เคลื่อน, เคลื่อน ไหว, สั่น, รัว, กระดิก, โยก, โยกโคลง, โคลง, กลับกลอก. จลฺ กมฺปเน, อ, ยุ.
  5. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  6. จลจิตฺต : ค. ผู้มีจิตหวั่นไหว, ผู้มีจิตไม่มั่นคง
  7. จลติ : ก. ไหว, หวั่นไหว, สั่น, คลอนแคลน, กระเพื่อม, พลิ้ว, สะบัด
  8. กุลจล : (ปุ.) กุลาจละ ชื่อภูเขามีรากไม่หวั่นไหว มี ๘ ลูก มีเขาสุเมรุ เป็นต้น.
  9. จญฺจล : (วิ.) กลิ้ง,โคลง,ไหว, สั่น, สะท้าน. จลฺ กมฺปเน, อ. เทว๎ภาวะ จ นิคคหิตอาคม.
  10. เจล เจฬ เจลก : (นปุ.) ผ้า, ท่อนผ้า, แผ่นผ้า. จิลฺ วสเน, เจลุ คมเน วา, โณ ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจล, เจลก, ไจล.
  11. โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
  12. อุจฺจล : (ปุ.) ภูเขาไฟ, ไฟ. อุปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อ.
  13. กุลาจล : ป. มหาบรรพต, ชื่อรวมของภูเขาใหญ่ทั้งเจ็ด คือเขาสัตตบริภัณฑ์ ซึ่งล้อมรอบเขาพระสุเมรุอยู่
  14. คชมาจล : ป. สิงโต
  15. จญฺจลติ : ก. เคลื่อนไหวไปมา, ร่ายรำ, ท่องเที่ยว
  16. จลุ : ป. น้ำในกอบมือ
  17. จุล จุลฺล จุฬ : (วิ.) น้อย, เล็ก, ละเอียด, ป่น. จุฬฺ เปรเณ, อ. ศัพท์แรก แปลง ฬ เป็น ล ศัพท์ที่สอง แปลง ล เป็น ลฺล หรือ จิ จเย, อุโล, อิสฺสุ.
  18. จูล : ค. ดู จุลฺล
  19. จูฬา : (อิต.) หงอน, หงอนนกยูง, มวยผม, จุก, ผมจุก, ปิ่น ( เครื่องประดับสำหรับปักผมที่ มุ่นเป็นจุก ), จอม, ยอด, มกุฎ, มงกุฎ, หัว. จูฬฺ สญฺโจทนภาวกรเณสุ, อ.
  20. เจล : นป. ผ้า, ผ้านุ่งผ้าห่ม
  21. โจล, (โจฬ) : ป. ผ้า
  22. โจลิ โจฬิ : (นปุ.) ผ้า, ฯลฯ. ณิ ปัจ.
  23. นิจฺจล : ค. ไม่หวั่นไหว, ไม่เคลื่อน, คงที่
  24. สญฺจลติ : ก. หวั่นไหว, ยุ่งยาก
  25. หิมาจล : (ปุ.) ภูเขาหิมพานต์, ป่าหิมพานต์. วิ. หิมยุตฺโต อจโล หิมาจโล.
  26. อจลอจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  27. อจล อจฺจจล : (ปุ.) ความไม่ไหว, ฯลฯ, ประเทศ ไม่มีความหวั่นไหว, ภูเขา, สลัก, ลิ่ม.
  28. อจล อจฺจล : (วิ.) ไม่ไหว, ไม่หวั่นไหว, มั่นคงแข็งแรง, ส. อจล.
  29. อิภมาจล : ป. สิงโต
  30. กิญฺจลุก : (ปุ.) ไส้เดือน วิ. กิญฺจิจลตีติ กิญฺจลุ โก. กิญฺจิปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, อุโก, จิโล โป. อภิฯ หน้า ๗๐๙.
  31. เขล เขฬ : (ปุ.) น้ำลาย วิ. ขํ อากาสํ อิลตีติ เขโล เขโฬ วา. ขปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, โณ, อิสฺเส. ขียตีติ วา เขโฬ. ขี ขเย, โฬ. เขฬตีติ วา เขโฬ เขฬฺ คติยํ,อ. ขลฺ วา สญฺจิน- นจลเนสุ โณ, อสฺเส. เป็น อิต. นปุ. ก็มี.
  32. จลน : (วิ.) ผู้มีความหวั่นไหวเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. จลิตุ สีลํ อสฺสาติ จลโน. ฯลฯ.
  33. จาล : (ปุ.) การไหว, ฯลฯ, ความไหว, ฯลฯ จลฺ กมฺปเน, โณ.
  34. จูฬิกา : (อิต.) จอนหู, โคนหูช้าง. วิ. โจเทติ เอตฺถ อํกุสาทีหิ อทนฺตนฺติ จูฬิกา. จุทฺ สํโจทเน, ณฺวุ, ทสฺส โฬ, อิอาคโม. จูลฺ นิมชฺชเน วา, ณฺวุ, ลสฺส โฬ.
  35. ตส : (วิ.) หวาด, สะดุ้ง, ตกใจ, คลอนแคลน, กลับกลอก, เคลื่อนที่, เคลื่อนที่ได้, ไป. ตสฺ อุพฺเพคจลเนสุ, อ.
  36. นิจุล : (ปุ.) ต้นจิก วิ. อตฺถิเกหิ นิจียตีติ นิจุโล. นิปุพฺโพ, จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อ. จิ จเย วา, อุโล.
  37. มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
  38. อายติ : (อิต.) อันไป, การไป, เวลาต่อไป, ความเป็นของยาว, ความเป็นของยืดยาว, เดชอันเกิดแต่อาชญา, เดชอันเกิดจากมีอำ-นาจลงอาชญา.อาปุพฺโพ, อิคติยํ, ติ.ส.อายติ.
  39. อุจฺจาลิงฺค : (ปุ.) บุ้ง, แมลงขนดำ. วิ. อุจฺจํ ฐาน อาลิงฺคตีติอุจฺจาลิงฺโค. อุจฺจปุพฺโพ, อาปุพฺโพ, ลิคิ คติยํ, อุจลตีติ วา อุจฺจาลิงฺโค. อุปุพฺโพ, จลฺ กมฺปเน, โค, จลสฺส จาลิ, นิคฺคหิตาคโม.
  40. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  41. [1-40]

(0.0599 sec)