Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จารีตนิยม, จารีต, นิยม , then จารต, จารีต, จารีตนิยม, นยม, นิยม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จารีตนิยม, 15 found, display 1-15
  1. นิยม : (ปุ.) การกำหนด, การหมายไว้, การจำ ศีล, ความกำหนด, ความแน่นอน, ความพร้อมกัน, ความประพฤติ, ความชอบ, ความนับถือ, วัตร, พรต, พรตที่ประพฤติ ตามกาล. นิปุพฺโพ, ยมุ อุปรเม, อ. คำนิยม ไทยใช้เป็นกิริยา ในความหมายว่า ชมชอบ ชื่นชม ยินดี ยอมรับ นับถือ. ส. นิยม.
  2. ธมฺมตา : (อิต.) ความเป็นแห่งธรรม, ความเป็นแห่งปัจจัย, ความเป็นเอง, จารีต, ธรรมเนียม, ประเพณี, สิ่งอันเป็นเอง, ธรรมดา คืออาการหรือความเป็นไปแห่งธรรมชาติ หรือการเสื่อมสลาย คือเสื่อม สลาย. ธมฺม+ตา ปัจ. สกัด. ส. ธรฺมตา.
  3. รฏฺฐนิยม : (ปุ.) ความกำหนดของบ้านเมือง, รัฐนิยม.
  4. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  5. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  6. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  7. ฉิท : ค. ผู้ตัด, ผู้ทำให้แตก, ผู้ทำลาย, (นิยมใช้ในคำสมาส เช่น พนฺธนจฺฉิท = ผู้ตัดเครื่องผูก)
  8. ธมฺมกาม : (ปุ.) ความยินดีซึ่งธรรม, ความใคร่ซึ่งธรรม, ความปรารถนาซึ่งธรรม. ทุ. ตัป. ความยินดีในธรรม, ฯลฯ. ส. ตัป. บุคคลผู้ยินดีซึ่งธรรม, บุคคลผู้ยินดีใน ธรรม, ฯลฯ, บุคคลผู้นิยมซึ่งธรรม, บุคคลผู้นิยมในธรรม. วิ. ธมฺมํ ธมฺเม วา กามยตีติ ธมฺมกาโม. ธมฺมปุพฺโพ, กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, โณ.
  9. นหานครุก : ค. หนักในการอาบน้ำ, ชอบอาบน้ำ, นิยมการอาบน้ำ
  10. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  11. อนุสฺสว : ป. ๑. การได้ยินเล่าลือกันมา; ๒. จารีต, ธรรมเนียม
  12. อวสฺสว : ค. มีผล, นิยมใช้ในรูปปฏิเสธว่า “อนสฺสว = ไม่มีผล” เท่านั้น
  13. อวุตฺติปริโภค : ป. การบริโภคอาหารที่ผิดธรรมชาติ (คืออาหารที่เขาไม่นิยมกินกัน)
  14. อิติหา : อิต. คำสอนที่มีมาแต่อาจารย์สมัยก่อน, โบราณจารีต
  15. จาเรติ : ก. ให้เที่ยวไป, ให้เป็นไป, ให้ซ่านไป, ปล่อยให้เที่ยวไป

(0.0609 sec)