จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติ, ผู้มักเที่ยวไป
อาราจาร, - จารี : ค. ผู้มีปกติประพฤติห่างไกลจากกาม
เขมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันเกษม วิ. เขมํ จรตีติ เขมจารี, ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอัน อันเกษมโดยปกติ วิ. เขมํ จรติ สีเลนาติ เขมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมอัน เกษมเป็นปกติ. ผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรม อันเกษม วิ. เขมสฺส จรณสีโลติ เขมจารี.
ธมฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจารี. ผู้ประพฤติซึ่งธรรมโดยปกติ. วิ. ธมฺมํ จรติ สีเลนาติ ธมฺมจารี. ผู้มีความประพฤติซึ่งธรรมเป็นปกติ วิ. ธมฺมํ จริดฺ สีล มสฺสาติ ธมฺมจารี. ผู้มีปกติ ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมสฺส จรณสีโลติ ธมฺมจารี. ธมฺมปุพฺโพ, จรฺ จรเณ, ณี.
ปมตฺตจารี : (ปุ.) ผู้ประพฤติประมาทโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
พฺรหฺมจารี : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ. วิ. พฺรหฺมํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ณี ปัจ. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ วิ. พฺรหฺมจริยํ จรตีติ พฺรหฺมจารี. ผู้ประพฤติพรหมจรรย์โดยปกติ, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. อีก ดู ธมฺมจารี เทียบ.
จาร : (ปุ.) คนสอดแนม, การเที่ยวไป, การเป็น ไป, ความประพฤติ. จรฺ จรเณ, โณ.
ปุเรจารี : (วิ.) ผู้ไปก่อน, ฯลฯ. ดู ปุเรคามี เทียบ.
พฺรหฺมจาริณี พรหฺมจารี : (อิต.) หญิงผู้ประพฤติประเสริฐ, หญิงผู้ประพฤติเหมือนพรหม, หญิงพรหมจารี. พรหมจาริณี พรหมจารี ไทยใช้หมายถึงหญิงที่ยังบริสุทธิ์เรื่องเพศ.
มิจฺฉาจารี : ป. ผู้ประพฤติผิด
รถาจารี : ป. นายสารถี
สปทานจารี : ป. ผู้เที่ยวไปตามลำดับ
สพฺรหฺมจารี : (ปุ.) บุคคลผู้มีปกติประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐเสมอกัน.
เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.
อนุธมฺมจารี : (ปุ.) คนผู้มีอันประพฤติซึ่งธรรมอันสมควร, ฯลฯ.
อมฺพุจารี : ป. ปลา, สัตว์ที่มีปกติท่องเที่ยวไปในน้ำ
อากาสจารี : ค. ผู้เที่ยวไปในอากาศ
อาคุจารี : ป. ผู้มีปกติประพฤติผิด, ผู้ประพฤติชั่ว
อุปถจารี : (ปุ.) ชนผู้ประพฤติผิดทางโดยปกติ, ชนผู้มีปกติประพฤติผิดทาง, คนมีการประพฤติผิดทางเป็นปกติ.
กาลญฺญู : (วิ.) ผู้รู้กาล, ผู้รู้จักกาล. วิ. กาลํ ชานาตีติ กาลญฺญู. ผู้รู้จักกาลโดยปกติ วิ. กาลํ ชานาติ สีเลนาติ กาลญฺญู. รู ปัจ. แปลง และ วิ. ได้อีก ดู ธมฺมจารี.
ทานทายี : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน, ผู้ให้ซึ่งทานโดย ปกติ, ผู้มีอันให้ซึ่งทานเป็นปกติ, ผู้มีปกติให้ซึ่งทาน. ณีปัจ. วิเคราะห์พึงเลียนแบบศัพท์ ธมฺมจารี.
ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
ทีฆทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นกาลนาน, ผู้เห็นกาล นานโดยปกติ. ฯลฯ, ผู้มีปกติเห้นกาลไกล, ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
ธมฺมญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปลและ วิ. เลียนคำ ธมฺมจารี. ธมฺม+ญา+รู ปัจ. รูปฯ ๕๗๗.
ธมฺมทสฺสี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล ที่ละไว้ และ วิ. ดูคำ ธมฺมจารี. ธมฺม+ทิสฺ+ณี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
ธุรวาทหี : (ปุ.) สัตว์ผู้นำไปซึ่งแอก, ฯลฯ, สัตว์ผู้นำไปซึ่งของหนัก, ฯลฯ, โคใช้งาน, วัว, ควาย, ดู ธมฺมจารี ประกอบ. ธุร+วหฺ+ ณี ปัจ.
นครวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในพระนคร, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
ปพฺพตวาสี : (วิ.) ผู้มีการอยู่ที่ภูเขาโดยปกติ, ฯลฯ . ดู ธมฺมจารี.
ภยทสฺสาวี : (วิ.) ผู้เห็นซึ่งภัยโดยปกติ วิ. ภยํ ปสฺสติ สีเลนาติ ภยทสฺสาวี. ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี. ภย+ทิสฺ ธาตุ อาวี ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส.
มตฺตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งประมาณ, ผู้รู้จักพอดี, ผู้รู้ซึ่งประมาณโดยปกติ, ฯลฯ. ดู ธมฺมจารี.
มนฺทคามี : (วิ.) เดินช้า, เดินช้าโดยปกติ, ฯลฯ. ณี ปัจ. ดู ธมฺมจารี เทียบ.
อรญฺญวาสี : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าโดยปกติ, ผู้อยู่ในป่าเป็นปกติ, ผู้มีปกติอยู่ในป่า.วิ.ดูธมฺมจารีเทียบ.ผู้มีการอยู่ในป่าเป็นปกติวิ.อรญฺเญวาโสสีโลอสฺสาติอรญฺญวาสี.อีปัจ.ตทัสสัตถิตัท.
ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
คุฒจาร : (ปุ.) คนสอดแนม, จารบุรุษ. คุฒ มาจาก คุหฺ สํวรเณ. ฒ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ.
ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
ภิกฺขาจาร : (ปุ.) การเที่ยวไปเพื่ออันขอ, การเที่ยวไปเพื่ออันขออาหาร, การเที่ยวขออาหาร, การเดินบิณฑบาต, การเที่ยวบิณฑบาต. ภิกษาจาร. ส. ภิกฺษาจาร.
อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
อุจฺจาร : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อุจฺจารียเตติ อุจฺจาโร. อุปุพฺโพ, จรฺ จชเน,โณ, ส. อุจฺจาร.
กาเมสุมิจฺฉาจาร : (วิ.) (ประโยค) อันเป็น เครื่องประพฤติผิดในกามท. วิ. กาเมสุมิจฺ ฉาจรนฺติ เอเตนาติ กาเมสุมิจฺฉาจาโร.
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
คามูปจาร : ป. อุปจารแห่งบ้าน, ที่ใกล้บ้าน, ชานบ้าน, นอกบ้าน
จารุ : (วิ.) สวย, งาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็น ที่ชอบใจ, เหมาะ, สม.
ทุคฺคสญฺจาร : ป. การท่องเที่ยวไปในทางกันดาร; ทางที่สัญจรไปมาได้ยาก
ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.