ปฏิภชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
ปฏิวิภชติ : ก. แบ่งออก, จำแนก, แจกออก
ปวิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
ภาเชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
วิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
ถูปารหปุคคล : (ปุ.) บุคคลผู้ควรแก่สถูป, บุคคล ที่ควรนำอัฐิบรรจุสถูป. บุคคลที่ ควรนำอัฐิมาบรรจุสถูป มี ๔ ประเภท คือ พระพุทธเจ้า ๑ พระปัจเจกพุทธเจ้า ๑ พระอรหันตสาวก ๑ พระเจ้าจักรพรรดิ ๑.
กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
กุจฺฉิฏฐ : ๑. ป. ลมในกายประเภทหนึ่ง, ลมในท้อง ;
๒. ค. ซึ่งอาศัยอยู่ในท้อง
ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
ฐานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนก โดย ฐานะ, โดยฐานะ, โดยพลัน โส ปัจ. ฐานตัท.
ทานสวิภาค : ป. การจำแนกแจกทาน
ทานสวิภาครต : (วิ.) ผู้ยินดีแล้วในการจำแนกซึ่งทาน, ผู้ยินดีในการแจกทาน.
ธมฺมสวิภาค : ป. การจำแนกธรรม
ธาตุวิภาค : ป. การแยกธาตุ, การจำแนกธาตุ; การแจกหรือแบ่งพระธาตุ
นจฺจคีตวาทิตาทิรติปฺปเภท : (วิ.) มีความยินดี ในการเล่นมีการฟ้อนและการขับและการประโคมเป็นต้นเป็นประเภท. เป็น ฉ. ตุล. มี ส. ทวัน., ฉ. ตุล. และ สงตัป. เป็นท้อง.
นิทฺทส : ป. การชี้แจง, การแสดงออก, การจำแนกออกพรรณนา, การแนะนำ
นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
ปทภาชนีย : (นปุ.) ข้อความอัน...จำแนกไว้, บทภาชนีย์ คือบทที่ตั้งไว้เพื่อไขความบทที่ ต้องอธิบาย
ปพฺพชิต : (ปุ.) นักบวช ( ทุกประเภท ) , ภิกษุ, บรรพชิต. วิ. ปพฺพชฺชา สญฺชาตา อสฺสาติ ปพฺพชิโต. สญฺชาตตฺเถ อิโต. เสฏฺฐตฺตํ วชตีติ วา ปพฺพชิโต. วชฺ คมเน, โต, อิอา คโม.
ปลฺลิกา : อิต. ปลาชนิดหนึ่ง; สัตว์ประเภทเลื้อยคลาน เช่น จิ้งจก ตุ๊กแก เป็นต้น
ปุคฺคลปญฺญตฺติ : อิต. คัมภีร์บุคคลบัญญัติในพระอภิธรรม ว่าด้วยการจัดประเภทบุคคล
พหุเภท : ค. ซึ่งมีประเภทต่างๆ, ซึ่งมีหลายประเภท
ภาชน : (นปุ.) การแจก, การจำแนก, ความแจก, ความจำแนก, วัตถุเป็นที่แบ่ง. ภชฺภาชเน, ยุ, ภาชฺ วา ปุถกมฺมนิ.
มานโส : (อัพ. นิบาต) โดยความจำแนกโดยมาน, โดยการจำแนกโดยการนับ. วิ. มาเนน วิภาเคน มานโส. โส ปัจ. วิภาคตัท.
โยนิโส : (อัพ. นิบาต) โดยการจำแนกโดยความรู้, โดยความจำแนกโดยความรู้, โดยอุบายอันแยบคาย, โดยอุบายอันถูกทาง, โดยความรู้, โดยแยบคาย, โดยถ่องแท้, โดยตลอด. โส ปัจ.
วิภงฺค : ป. การแบ่ง, การจำแนก
วิภชฺช : กิต. แบ่งแล้ว, จำแนกแล้ว
วิภตฺติ : อิต. การแบ่ง, การแจก, การจำแนก
วิภาค : ป. การจำแนก, การแบ่ง
สพฺพธา สพฺพโส : (อัพ. นิบาต.) โดยส่วนทั้งปวง, โดยการจำแนกทั้งปวง, โดยอาการทั้งปวง, โดยประการทั้งปวง, โดยจำแนกโดยอาการทั้งปวง, โดยการจำแนกโดยประการทั้งปวง. สพฺพ+ธา, โสปัจวิภาคตัท.
สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
สมณโวหาร : (ปุ.) โวหารของสมณะ, โวหารอันควรแก่สมณะ, สมณโวหาร คือคำที่สำหรับใช้กับสมณะนั้นมีอีกประเภทหนึ่ง เช่นรับประทานข้าว ว่า ฉันจังหัน นอน ว่า จำวัด เป็นต้น
สวิภาค : ป. การจำแนกแจกจ่าย
สุตฺตโส : (อัพ. นิบาต) โดยการจำแนกแห่งสูตร, โดยวิภาคแห่งสูตร. สุตฺต+โส ปัจ.
อวิภตฺต : ค. อันไม่แจกหรือจำแนก
โอโนเชติ : ก. จำแนก, แจกจ่าย, อุทิศให้
ปริเภท : ป. ความยุยงให้แตกกัน