จีน : (ปุ.) ผ้าเมืองจีน, จีนะ ชื่อเนื้อชนิดหนึ่ง.
จน : (อัพ. นิบาต) เมื่อ, บางที. เป็น อสากลฺยตฺ- ถวาจกนิปาต อภิฯน. ๔๒๓.
จน, จน : อ. เป็นอสากัลยัตถวาจกนิบาตบ่งความเพียงบางส่วนเช่นในคำว่า กุทา+จน = กุทาจน = ในกาลบางคราว, บางครั้งบางคราว เป็นต้น
จีนปิฎฺฐ : (นปุ.) ชาด, เสน (สีแดงปนเหลือง). วิ. จีนเทสปฺปวตฺตํ ปิฏฐ จีนปิฏฺฐ.
จีนปิฏฐ : นป. ชาด, เสน, ตะกั่วแดง
กญฺจ กญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ทิตฺติยํ, อ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม. ส. กาญฺจน.
กรณวจน : (นปุ.) การกล่าวถึงสิ่งเป็นเครื่อง ทำ, ตติยาวิภัติ. ส. กรณวจน.
กาญฺจน : (นปุ.) ทอง, ทองคำ. กจฺ ทิตฺติยํ, ยุ, นิคฺคหิตาคโม, ทีโฆ จ. ส. กาญฺจน.
ทุคคต : (วิ.) ยาก, จน, ยากจน, เข็ญใจ. วิ. ทุ นินฺทิตํ คติ คมน มสฺสาติ ทุคฺคโต. ทุกฺเขน วา กิจฺเฉน คตํ คมนํ ยสฺส โส ทุคฺคโต. อถวา, ทุกฺเขน กิจฺเฉน คต คมนํ อนฺน ปานาทิลาโภ ยสฺส โส ทุคฺคโต . ส. ทุรฺคต.
นิทฺธน : (วิ.) มีทรัพย์ออกแล้ว, ไม่มีทรัพย์, จน, เข็ญใจ, ไร้ทรัพย์. ส. นิธน.
มุญฺจนเจตนา : (อิต.) ความตั้งใจในขณะให้, ความตั้งใจให้ในขณะสละ, มุญฺจนเจตนา (ขณะให้ก็เต็มใจให้ ให้ด้วยความปีติ).
โสจ โสจน : (นปุ.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
อธิวจน : (นปุ.) คำเครื่องกล่าวทับ, ชื่อเครื่องกล่าวยิ่ง, คำเรียก, คำร้องเรียก, นาม, ชื่อ.วิ.อธีนํวจนํอธิวจนํ.ส.อธิวจน.
อนาฬฺหิก, อนาฬฺหิย : ค. ไม่รวย, จน
อาเสจน : (นปุ.) การรด, ฯลฯ. ดู อาสิญฺจน.
กญฺจน : นป. ทอง, ทองคำ
กญฺจนกทลิกฺขณฺฑ : ป. เครือกล้วยสุก
กทาจน : อ. บางครั้ง, บางคราว, ทันที
กมฺมโสจน : นป. ความเศร้าใจในกรรมชั่ว
กาจน : นป. เครื่องปิด, เครื่องล้อมรั้ว
กิญฺจน : (นปุ.) กิเลสชาตเครื่องกังวล, ความกังวล, ความห่วงใย, กิเลสชาตผู้ย่ำยีสัตว์ วิ. กิญฺเจติ สตฺเต มทฺทตีติ กิญฺจนํ. กิจิ มทฺทเน, ยุ.
กุทาจน : (อัพ. นิบาต) ในกาลไหน, ในการไร, ในกาลบางครั้ง, ในกาลบางที, ในการไหน ๆ. วิ. กสฺมึ กาเล กุทาจนํ. กึ+ทาจนํ ปัจ. ลงในอรรถ กาลสัตตมี.
กุทาจน, - น : อ. ในกาลไหนๆ, ในกาลบางครั้งบางคราว
กุหิญฺจน : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในบางครั้ง
กุหิญฺจน, จิ : อ. ในที่ไหน? ที่ไหน? ในที่ใดที่หนึ่ง
คพฺโภจน : (นปุ.) การคลอดบุตร, การคลอดลูก. คพฺภ+มุจน ลบ ม แปลง อุ เป็น โอ.
จิน : (นปุ.) การก่อ, การก่อสร้าง, การสะสม, การสั่งสม. จิ จเย, ยุ.
ตถวจน : นป., ค. คำจริง; ผู้กล่าวคำจริง
ตลลญฺจน : (นปุ.) รอยแห่งพื้น, บาทฐาน.
ตูลเสจน : นป. ไนปั่นฝ้าย
เตปิฏกพุทธวจนสงฺขาต : (วิ.) อันบัณฑิต นับพร้อมแล้วว่าพระดำรัสของพระพุทธเจ้า คือหมวดแห่งปีฏกสาม.
ทุฎฺฐวจน : (นปุ.) ถ้อยคำอันโทษประทุษร้าย แล้ว, คำชั่ว, ถ้อยคำชั่ว.
นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
ปจฺจน : นป. การหุงต้ม, การเดือดร้อน
ปญฺจนที : อิต. แม่น้ำห้าสาย (คงคา, ยมุนา, อจิรวดี, สรภู, มหี)
ปฏิวจน : นป. การกล่าวตอบ, การตอบ, คำตอบ
ปมุญฺจน : (นปุ.) ความหลุดพ้น, ความปลดเปลื้อง. ปปุพฺโพ, มุจฺ โมจเน, ยุ, นิคฺคหิตาคโม.
ปริปาจน : นป. ความหุงต้ม, ความเจริญงอกงาม
ปริมุจฺจน : นป. การหลุดพ้น, การพ้น
ปริสิญฺจน : นป. การรด
ปาจน : นป. การหุงต้ม, การปรุงอาหาร; ปฏัก, ไม้เท้า
ปิยวจน : นป. ปิยวาจา อิต. คำพูดอันน่าพอใจ
ปุถุวจน : นป. การพูดคำหยาบ
ปุนวจน : นป. การกล่าวซ้ำอีก, การทบทวน
ผรุสวจน : นป., ผรุสวาจา อิต. คำพูดหยาบ, พูดไม่เพราะ
พหุวจน : (นปุ.) คำพูดมาก, คำพูดบ่งถึงของมาก, คำ พูดสำหรับของมาก, คำที่กล่าวถึงสิ่งมากกว่าหนึ่ง, พหูพจน์.
พุทฺธวจน : นป. พระพุทธพจน์, พระดำรัสหรือคำสอนของพระพุทธเจ้า
ภิกฺขาวจน : (นปุ.) การกล่าวซึ่งภิกษา, การออกชื่อภิกษา, การออกชื่ออาหาร.