Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: จีพร , then จีพร, จีวร .

ETipitaka Pali-Thai Dict : จีพร, 70 found, display 1-50
  1. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  2. จีวรกณฺณ : นป. มุมจีวร, ชายจีวร
  3. จีวรกมฺม : (นปุ.) การทำซึ่งผ้า, การทำจีวร คือ การสุ (ทำให้สะอาด) แล้วตัดเย็บและย้อม.
  4. จีวรการ : ป. คนทำจีวร, ช่างตัดเย็บจีวร
  5. จีวรการสมย : ป. สมัยเป็นที่กระทำซึ่งจีวร, ระยะกาล (ที่ทรงอนุญาตไว้) เพื่อการทำจีวร, คราวที่พระทำจีวร
  6. จีวรกาล : (ปุ.) คราวเป็นที่ถวายซึ่งจีวร, กาล เป็นที่ถวายจีวรของทายกทายิกา, คราว ที่เป็นฤดูถวายจีวร, จีวรกาล.จีวรกาล(ระยะ เวลาถวายผ้า) มีกำหนดตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลางเดือน ๑๒ ถ้าภิกษุได้ กรานกฐิน ก็เลื่อนไปถึงกลางเดือน ๔ และ เป็นเวลาที่ภิกษุเปลี่ยนไตรจีวรด้วย.
  7. จีวรกาลสมย : ป. สมัยจีวรกาล, คราวที่ทรงอนุญาตให้ (พระภิกษุสงฆ์) รับจีวรได้
  8. จีวรทานสมย : ป. สมัยถวายจีวรในจีวรกาล
  9. จีวรทานาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยกุศลมีอัน ถวายซึ่งจีวรเป็นต้น.
  10. จีวรทุสฺส : นป. ผ้าสำหรับทำจีวร
  11. จีวรนิทาหก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่เก็บจีวร
  12. จีวรปคฺคหณาทิ : (วิ.) มีอันถือเอาซึ่งจีวรเป็นต้น.
  13. จีวรปฏิคฺคาหก : (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่รับจีวร
  14. จีวรปฏิวิส : ป. ส่วนจีวร, ชิ้นส่วนของจีวร
  15. จีวรปลิโพธ : (ปุ.) ความกังวลในจีวร, ความห่วงใยในจีวร.
  16. จีวรปวิเวก : นป. ความสงัดจากกิเลสเพราะจีวร
  17. จีวรปารุปน : (นปุ.) ที่เป็นที่ห่มซึ่งจีวร วิ. จีวรํ ปารุปตนฺติ เอตฺถาติ จีวรปารุปนํ.
  18. จีวรปิณฺฑปาตเสนาสนคิลานปจฺจยเภสชฺช ปริกฺขาร : (ปุ.) จีวรและบิณฑบาตและ เสนาสนะและยาอันเป็นปัจจัยเพื่อภิกษุ ไข้และบริขาร.
  19. จีวรภตฺต : นป. จีวรและภัต
  20. จีวรภาชก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่แจกจีวร, ผู้แบ่งจีวร
  21. จีวรภิสี : อิต. หมอนที่ทำด้วยจีวร, จีวรที่ใช้เป็นหมอนหนุน
  22. จีวรลูข : ค. (ภิกษุ) ผู้ทรงผ้าจีวรอันเศร้าหมอง, ผู้นุ่งห่มผ้าจีวรสีปอนๆ
  23. จีวรวส : ป. ราวไม้ไผ่สำหรับตากจีวร, ราวจีวร, ไม้ระเดียง
  24. จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
  25. จีวรวิจารณสิพฺพนาทิสมณปริกฺขาราภิสงฺขรณ : (นปุ.) การตกแต่งซึ่งบริขารของสมณะมี การกะและการเย็บซึ่งจีวรเป็นต้น.
  26. จีวรวิภงฺค : ป. การแจกจีวร, การแบ่งจีวร
  27. จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
  28. จีวราทิปจฺจยทาน : (นปุ.) การถวายปัจจัยมีจีวร เป็นต้น.
  29. จีวรวคฺค : (ปุ.) ตอนกล่าวถึงผ้า, ตอนกล่าวถึง ผ้าต่างๆ, ตอนว่าด้วยผ้าต่างชนิด.
  30. กฐินจีวร : นป. จีวรที่ทำด้วยผ้ากฐิน
  31. กาลจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิดในกาล, กาลจีวร คือ ผ้าที่เกิดขึ้นแก่ภิกษุ ในกาลที่ทรงอนุญาต ตั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๑ ถึงกลาง เดือน ๑๒ ถ้าได้กรานกฐินเลื่อนไปถึง กลางเดือน ๔.
  32. กาสาย, กาสาว : ๑. นป. ผ้าที่ย้อมน้ำฝาด; จีวร; ๒. ค. ซึ่งย้อมน้ำฝาด, ซึ่งย้อมสีเหลือง
  33. ติจีวร : (นปุ.) ผ้าสามผืน, ผ้าไตร, ไตรจีวร. เครื่องนุ่งห่มของพระมี ๓ ผืน ได้แก่ สบง ผ้าสำหรับนุ่ง ๑ จีวรผ้าสำหรับห่ม ๑ สังฆาฏิ ผ้าซ้อนนอกสำหรับกันหนาว หรือผ้าทบ ๑ มีพระบรมพุทธานุญาตให้ ภิกษุมีผ้าสามผืนเท่านี้ ผ้านอกนี้จะมีไว้ใช้ ต้องใช้กับของวิกัป.
  34. ติจีวรวิปฺปวาส : (ปุ.) การอยู่ปราศจากจีวร.
  35. เตจีวร : นป. ไตรจีวร; สังฆาฏิ (ผ้าพาด), อุตตราสงค์ (ผ้าห่ม), อันตรวาสก (ผ้านุ่ง)
  36. ปตฺตจีวร : นป. บาตรและจีวร
  37. อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  38. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  39. อติเรกจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิน, อติเรกจีวรคือผ้าที่ยังไม่ได้อธิฐานยังไม่ได้วิกัป. ไตร๒/๔ผ้าที่ได้มาใหม่ยังไม่ได้พินทุอธิฐานและวิกัปผ้าอันไม่ใช่ของอธิฐานและไม่ใช่ของวิกัปผ้านอกจากไตรจีวร มีขนาดตั้งแต่๔x๘ นิ้ว และไม่ใช่ของวิกัป.
  40. อรหทฺธช : ป. ธงชัยของพระอรหันต์, จีวร
  41. อิทฺธิมยปตฺตจีวรธร : (วิ.) ผู้ทรงไว้ซึ่งบาตร และจีวรอันสำเร็จแล้วด้วยฤทธิ์.
  42. คหปติจีวร : (นปุ.) ผ้าอันคฤหบดีถวาย, ผ้าที่ ชาวบ้านถวาย.
  43. ทารุจีวร : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลกรองแล้วด้วยเปลือกไม้. กรองคือ ร้อย ถัก ทอ.
  44. ปสุกูลจีวร : นป. ผ้าบังสุกุล, ผ้าคลุกฝุ่น
  45. อรหธชอรหทฺธช : (ปุ.) ธงชัยของพระอรหันต์, จีวร (ผ้ากาสาวพัตร). วิ. อรหตํ ธโช อรหธ-โชวา.
  46. อรหธช อรหทฺธช : (ปุ.) ธงชัยของพระอรหันต์, จีวร (ผ้ากาสาวพัตร). วิ. อรหตํ ธโช อรหธ- โช วา.
  47. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  48. คีเวยฺยก : (นปุ.) คีเวยยกะ ชื่อกระทงเล้กของ จีวร ที่อยู่กลางผืนของจีวรด้านบน เวลา ห่มคลุมจะอยู่ที่คอ.
  49. นิทหก : ค. ผู้เก็บ, ผู้รักษา (จีวร)
  50. อฏฺฐปริขาร อฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘. บริขาร ๘ คือ ปตฺโต บาตร, ติจีวรํ ไตร จีวร(นับ๓), กายพนฺธนํ ประคดเอว, วา สิ มีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํ ผ้ากรองน้ำ (ธมกรก).
  51. [1-50] | 51-70

(0.0081 sec)