จุมฺพติ : ก. จุมพิต, จูบ
อปลาเลติ,- เฬติ : ก. กอด, จูบ, ละโบม
อุปคฺฆายติ : ก. ดม, สูด, จูบ
ฆายน : (นปุ.) การดม, การสูดดม, การสูดกลิ่น, การจูบ. ฆา ธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ ยุ ปัจ.
นิกฺข : (ปุ. นปุ.) นิกขะชื่อมาตราเงิน๕สุวัณณะเป็น๑นิกขะ,ลิ่ม,แท่ง,ทอง,เครื่องประดับ,การจูบ,การจุมพิต.นิปุพฺโพ,กนฺทิตฺติคตติกนฺตีสุ,อ,นสฺสโข.ส.นิษฺก.
ปริจุมฺพติ : ค. กอดจูบ
ปริจุมฺพิต : กิต. กอดจูบแล้ว
นิฏฐา : อิต. ความสำเร็จ, ที่สุด, จบ, ความตกลง, ความหมดไป, การหายไป, การตกอันดับ
นิพฺพตฺต : (วิ.) แล้ว (เสร็จสิ้น สุดสิ้น จบ.), เสร็จ, สิ้น, สุดสิ้น, จบ, สำเร็จ. นิปุพฺโพ, วตฺตฺ วตฺตเน, อ, วสฺส โพ, พฺสํโยโค.
ยุตติ : (วิ.) ประกอบ, ฯลฯ, ตกลง, จบ, เลิก, ยุกติ, ยุตติ, ยุติ. ยุกติ ยุตติ ยุติ ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่า จบ ตกลง เลิก ลงเอย.
อวสายี : ค. ซึ่งอวสาน, สิ้นสุด, จบ
โอสาน : (วิ.) สิ้น, สิ้นลง, สุด, สุดลง, จบ, จบลง. อวปุพฺโพ, สา อวสาเน, ยุ.
นิฏฺฐา : (อิต.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
นิฏฐาน : (นปุ.) ความออกตั้ง, ความเข้าใจ, ความตกลง , ความสำเร็จ, อวสาน (ที่สุด จบ), อทัสสนะ (ความไม่ ปรากฏ). นิปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, ยุ.
สมตุต : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ฯลฯ, จบ. สํปุพฺโพ อสุ เขปเน, โต, ทฺวิตฺตํ, สุโลโป.
คาถาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง คาถา, การเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
คาถาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งคาถา, กาลเป็นที่จบลงแห่งคาถา.
จุมฺพน : (นปุ.) การจุบ, การจุมพิต.
เทสนาปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
เทสนาวสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่ง เทศนา, กาลเป็นที่จบลงแห่งเทศนา (เทศน์จบ).
นิฏฐาติ : ก. จบลง, หมด, สิ้นสุด, สำเร็จ
นิฏฐาปน : (นปุ.) อันยัง...ให้ตั้งลง, อัน ยัง...ให้สำเร็จ, อันยัง...ให้จบ. นิ+ฐา+ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ. ปัจ.
นิฏฐาปิต : ค. ซึ่งให้สำเร็จ, ซึ่งให้เสร็จ, ซึ่งให้จบ
นิฏฐาเปติ : ก. ให้สำเร็จ, ให้เสร็จ, ให้จบ
นิฏฐิต : ค. ซึ่งสำเร็จ, อันเสร็จสิ้น, ซึ่งจบ
นิตฺถรณ : นป. การข้ามไป, การผ่านไป, การก้าวล่วง, การจบลง, การทำสำเร็จ; การทอดถอน, การสลัดทิ้ง
นิตฺถรติ : ก. ข้ามไป, ผ่านไป, ก้าวล่วง, จบลง, ทำสำเร็จ; ทอดถอน, สลัดทิ้ง
ปรนิฏฺฐิต : ค. ซึ่งผู้อื่นให้สำเร็จ, ซึ่งผู้อื่นทำให้สำเร็จสิ้นแล้ว, ซึ่งผู้อื่นให้จบลงแล้ว
ปรินิฏฺฐาน : นป. ความสำเร็จ, การจบ
ปริโยสาน : นป. ที่สุด, บทสุดท้าย, การจบ, การรวบยอด
ปริโยสาเปติ : ก. ให้จบ
ปริโยสิต : กิต. จบแล้ว
มนฺตปารคู : (วิ.) ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งมนต์, ผู้เรียนจบมนต์, ผู้ถึงซึ่งฝั่งแห่งเวท, ผู้เรียนจบเวท.
มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
โวสิต : กิต. อยู่จบแล้ว
สมตฺต : ค. จบ, บริบูรณ์
สมาเปติ : ก. จบ, บริบรูณ์
อวสาน : (ปุ.) ที่สุดลง, กาลเป็นที่สุดลง, กาลเป็นที่จบลง, ที่สุด, ที่จบ, การจบ. อวปุพฺ-โพ, สาอวสาเน, ยุ.ส.อวสาน.
อวสาย : นป. การอวสาน, การจบลง, การสรุป
อสมตฺต : ค. ไม่จบ, ไม่สำเร็จ
อเสขอเสกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษา, บุคคลผู้ไม่ต้องศึกษาเพื่อคุณอันยิ่งขึ้นไปอีก(เพราะจบการศึกษาแล้วคือละกิเลสได้หมดสิ้นแล้ว), บุคคลผู้สำเร็จการศึกษา (ในเรื่องละกิเลสเพราะละกิเลสได้เด็ดขาดแล้ว), พระอเสขะคือ พระอริยบุคคลผู้บรลุพระอรหันตผลแล้ว, อเสขะอเสกขะชื่อของพระอรหันต์, พระอรหันต์.วิ.ตโตอุตฺตริกรณียาภาวโตนตฺถิสิกฺขาเอตสฺสาติอเสโขอเสกฺโขวา.
อิติวุตฺตก : (นปุ.) อิติวุตตกะ ชื่อองค์ที่ ๖ ใน ๙ องค์ ของนวังคสัตถุศาสน์. แต่งโดยยกข้อ ธรรมขึ้นแล้ว อธิบายตอนจบมีบทสรุป กำกับไว้ด้วย. วิ. อิติ วุตฺตํ อิติวุตฺตกํ ก สกัด.